ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ภาษาไทยเบื้องต้น/พยัญชนะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัดที่ 4:
|}
 
== พยัญชนะไทย ==
'''พยัญชนะ''' หมายถึง ตัวอักษรหรือตัวหนังสือ พยัญชนะที่ใช้ในภาษาไทยมี ๔๔ ตัวคือ
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF4500;"
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ก|ก]]</font> ไก่
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ข|ข]]</font> ไข่
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฃ|ฃ]]</font> ฃวด
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ค|ค]]</font> ควาย
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฅ|ฅ]]</font> ฅน
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฆ|ฆ]]</font> ระฆัง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ง|ง]]</font> งู
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:จ|จ]]</font> จาน
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฉ|ฉ]]</font> ฉิ่ง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ช|ช]]</font> ช้าง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ซ|ซ]]</font> โซ่
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฌ|ฌ]]</font> เฌอ
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ญ|ญ]]</font> หญิง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฎ|ฎ]]</font> ชฎา
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฏ|ฏ]]</font> ปฏัก
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฐ|ฐ]]</font> ฐาน
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฑ|ฑ]]</font> มณโฑ
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฒ|ฒ]]</font> ผู้เฒ่า
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ณ|ณ]]</font> เณร
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ด|ด]]</font> เด็ก
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ต|ต]]</font> เต่า
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ถ|ถ]]</font> ถุง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ท|ท]]</font> ทหาร
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ธ|ธ]]</font> ธง
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:น|น]]</font> หนู
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:บ|บ]]</font> ใบไม้
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ป|ป]]</font> ปลา
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ผ|ผ]]</font> ผึ้ง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฝ|ฝ]]</font> ฝา
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:พ|พ]]</font> พาน
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฟ|ฟ]]</font> ฟัน
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ภ|ภ]]</font> สำเภา
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ม|ม]]</font> ม้า
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ย|ย]]</font> ยักษ์
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ร|ร]]</font> เรือ
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ล|ล]]</font> ลิง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ว|ว]]</font> แหวน
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ศ|ศ]]</font> ศาลา
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ษ|ษ]]</font> ฤๅษี
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ส|ส]]</font> เสือ
|- align = "center"
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ห|ห]]</font> หีบ
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฬ|ฬ]]</font> จุฬา
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:อ|อ]]</font> อ่าง
! width="90" | <font size="+2">[[:wikt:ฮ|ฮ]]</font> นกฮูก
|}
 
 
== หน้าที่ ==
* เป็นพยัญชนะต้น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] '''น้'''อง '''ส'''วย '''ม'''าก
บรรทัดที่ 71:
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] กม. พ.ศ. ด.ญ.
 
== อักษรนำ ==
'''อักษรนำ''' คือ การนำพยัญชนะ ๒ ตัวมาเรียงกัน แล้วประสมด้วยสระเดียวกัน เวลาอ่านออกเสียงต้องออกเสียงพยัญชนะตัวแรกเป็นเสียง อะ กึ่งมาตรา เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF6347;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:ถนน|ถนน]] || อ่านว่า || ถะ - หนน
|- align = "center"
| [[:wikt:ขยาด|ขยาด]] || อ่านว่า || ขะ – หยาด
|}
บรรทัดที่ 84:
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFA07A;"
|- align = "center"
| '''อ'''ย่า || '''อ'''ยู่ || '''อ'''ย่าง || '''อ'''ยาก
|}
 
 
== อักษรควบ ==
'''อักษรควบ''' คือ คำที่มีพยัญชนะอื่นควบกับ ร ล ว รวมอยู่ในสระเดียวกัน อักษรควบแบ่งออกเป็น ๒ ชนิดคือ
 
* '''อักษรควบแท้''' หมายถึง อักษรควบที่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะ ๒ ตัวพร้อมกัน
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:กราบกราน|กราบกราน]] || [[:wikt:กลับกลาย|กลับกลาย]] || [[:wikt:เกลื่อนกลาด|เกลื่อนกลาด]] || [[:wikt:ขลาดเขลา|ขลาดเขลา]] || [[:wikt:ขวนขวาย|ขวนขวาย]] || [[:wikt:เคว้งคว้าง|เคว้งคว้าง]] || [[:wikt:คลางแคลง|คลางแคลง]]
|}
บรรทัดที่ 101:
* '''อักษรควบไม่แท้''' หมายถึง อักษรควบที่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวหน้าเพียงตัวเดียว
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FF8C00;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:จริง|จริง]] || [[:wikt:ทรง|ทรง]] || [[:wikt:ทราบ|ทราบ]] || [[:wikt:ทราม|ทราม]] || [[:wikt:สร้าง|สร้าง]] || [[:wikt:เสริม|เสริม]] || [[:wikt:สร้อย|สร้อย]] || [[:wikt:ศรี|ศรี]] || [[:wikt:เศร้า|เศร้า]]
|}
 
== มาตราตัวสะกด ==
ในภาษาไทยแบ่งมาตราตัวสะกดเป็น ๘ มาตรา คือ
* มาตราแม่ '''กง''' มีเสียง '''ง''' เป็นตัวสะกด เช่น
บรรทัดที่ 125:
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] จับ สาบ ชอบ
 
=== ตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา ===
* เมื่อมี '''ติ ตุ ต ท ธ ศ ษ ส จ ช ซ ฐ ฎ ฏ ฑ ฒ ฒิ ถ''' เป็นตัวสะกด เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมี '''ด''' สะกด เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFD700;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:ชาติ|ชาติ]] อ่านว่า ชาด || [[:wikt:ธาตุ|ธาตุ]] อ่านว่า ทาด
|- align = "center"
| [[:wikt:จิต|จิต]] อ่านว่า จิด || [[:wikt:บาท|บาท]] อ่านว่า บาด
|- align = "center"
| [[:wikt:พุธ|พุธ]] อ่านว่า พุด || [[:wikt:เพศ|เพศ]] อ่านว่า เพด
|- align = "center"
| [[:wikt:ชาติ|ชาติ]] อ่านว่า ชาด || [[:wikt:ธาตุ|ธาตุ]] อ่านว่า ทาด
|- align = "center"
| [[:wikt:พิษ|พิษ]] อ่านว่า พิด || [[:wikt:ทาส|ทาส]] อ่านว่า ทาด
|- align = "center"
| [[:wikt:อาจ|อาจ]] อ่านว่า อาด || [[:wikt:พืช|พืช]] อ่านว่า พืด
|- align = "center"
| [[:wikt:ก๊าซ|ก๊าซ]] อ่านว่า ก๊าด || [[:wikt:รัฐ|รัฐ]] อ่านว่า รัด
|- align = "center"
| [[:wikt:กฎ|กฎ]] อ่านว่า กด || [[:wikt:ปรากฏ|ปรากฏ]] อ่านว่า ปรา - กด
|- align = "center"
| [[:wikt:ครุฑ|ครุฑ]] อ่านว่า ครุด || [[:wikt:พุฒ|พุฒ]] อ่านว่า พุด
|- align = "center"
| [[:wikt:วุฒิ|วุฒิ]] อ่านว่า วุด || [[:wikt:รถ|รถ]] อ่านว่า รด
|}
บรรทัดที่ 154:
* เมื่อมี '''ญ ณ ร ล''' เป็นตัวสะกด เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมี '''น''' สะกด เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFD700;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:บุญ|บุญ]] อ่านว่า บุน || [[:wikt:คุณ|คุณ]] อ่านว่า คุน
|- align = "center"
| [[:wikt:การ|การ]] อ่านว่า กาน || [[:wikt:ศาล|ศาล]] อ่านว่า สาน
|}
บรรทัดที่ 164:
* เมื่อมี '''ป พ ฟ ภ''' เป็นตัวสะกด เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมี '''บ''' สะกด เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFD700;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:ธูป|ธูป]] อ่านว่า ทูบ || [[:wikt:ภาพ|ภาพ]] อ่านว่า พาบ
|- align = "center"
| [[:wikt:เสิร์ฟ|เสิร์ฟ]] อ่านว่า เสิบ || [[:wikt:โลภ|โลภ]] อ่านว่า โลบ
|}
บรรทัดที่ 174:
* เมื่อมี '''ข ค ฆ''' เป็นตัวสะกด เวลาอ่านจะออกเสียงเหมือนมี '''ก''' สะกด เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFD700;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:สุข|สุข]] อ่านว่า สุก || [[:wikt:ภาค|ภาค]] อ่านว่า พาก
|- align = "center"
| [[:wikt:เมฆ|เมฆ]] อ่านว่า เมก
|}
 
 
== ตัวการันต์ ==
'''ตัวการันต์''' คือ ตัวอักษรที่ไม่อ่านออกเสียงจะมีไม้ทัณฑฆาต (<font size="+2">-์</font>) กำกับไว้้้ข้างบนไว้ข้างบน เช่น
 
{| cellpadding="2" style="border: 1px solid #FFD700;" align = "center"
|- align = "center"
| [[:wikt:จันทร์|จันทร์]] || [[:wikt:โทรทัศน์|โทรทัศน์]] || [[:wikt:กษัตริย์|กษัตริย์]] || [[:wikt:รถยนต์|รถยนต์]] || [[:wikt:โรงภาพยนตร์|โรงภาพยนตร์]]
|}
บรรทัดที่ 198:
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] ลักษมณ์
 
== หลักการใช้ ศ ษ ส ==
* หลักการใช้ '''ศ''' มีดังนี้
: ๑. ใช้กำกับคำไทยบางคำ เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] ปราศ ศอก ศก
: ๒. ใช้เป็นตัวสะกดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] อัศเจรีย์ พฤศจิกายน พิศวาส
: ๓. ใช้เขียนคำที่มีจากภาษาอื่น เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] ฝรั่งเศส ไอศกรีม
 
* หลักการใช้ '''ษ''' มีดังนี้
: ๑. ใช้กับคำไทยบางคำ เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] กระดาษ ดาษดื่น
: ๒. ใช้เป็นตัวสะกดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] พิษณุโลก ราษฎร
: ๓. ใช้เขียนคำที่มาจากภาษาอื่น เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] อังกฤษ
 
* หลักการใช้ '''ส''' มีดังนี้
: ๑. ใช้กับคำทั่วไป
: ๒. ใช้ในคำที่มาจากภาษาบาลี เพราะภาษาบาลีไม่มี ศ ษ เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] โอกาส โอภาส
: ๓. ใช้ในคำที่มาจากภาษาเขมร เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] สาแหรก เสวย สไบ
: ๔. ใช้ในคำที่มาจากภาษายุโรป เช่น
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส
:: [[ไฟล์:CorrespMtl5.png|10px]] อัสดง ภัสดา