ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
คำช่วยชี้ประธาน(-이/-가),(-은/-는) และคำช่วยชี้กรรม(-을/-를)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัดที่ 1:
{{ถามผู้รู้}}
== จุดประสงค์ของการจัดทำ ==
ภาษาเกาหลีฉบับรวมหลักไวยากรณ์นี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้ภาษาเกาหลีและผู้ที่สนใจทั่วไป
รวบรวมและวิเคราะห์องค์ประกอบโครงสร้างต่างๆ ที่ทำให้สามารถเขียนขึ้นมาเป็นประโยคได้
และอธิบายแต่ละองค์ประกอบพร้อมทั้งยกตัวอย่างมาให้เข้าใจ
ทั้งนี้โดยให้เน้นความสำคัญอยู่ที่ 3 ประเด็นหลัก คือ '''1.มันคืออะไร 2.มันแปลว่าอะไร 3.มันใช้อย่างไร'''
โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ความสำคัญของการปูพื้นฐานทางหลักไวยากรณ์ที่ดีแก่ผู้ศึกษา อันจะทำให้เกิดความเข้าใจและเป็นบันไดสู่ก้าวขั้นต่อไป...
 
== ประโยคที่น่าจดจำ ==
 
1.# 좀 도와주세요!
(โจม โท-วา-ชู-เซ-โย!)
กรุณาช่วยฉันหน่อยครับ/ค่ะ! (좀=นิดหน่อย 도와주다=ให้ช่วย)
 
2.# 무슨 뜻이예요?
(มู-ซึน ตือ-ชี-เย-โย๊?)
แปลว่าอะไรครับ/ค่ะ? (무슨 뜻 = หมายถึงอะไร ---> 무슨=อะไร,what 뜻=ความหมาย,meaning)
 
3.# 정말 잘 모르겠습니다.
(ชอง-มัล ชัล โม-รือ-เกด-ซึ่ม-นิ-ดา.)
ไม่ทราบจริง ๆครับ/ค่ะ (정말=จริง ๆ 잘=ดี,good 모르다=ไม่เข้าใจ,ไม่รู้)
 
4.# 아! 알겠습니다.
(อ๋า! อัล-เก๊ซ-ซึ่ม-นิ-ดา.)
อ๋อ! เข้าใจแล้วครับครับ/ค่ะ (아!=ภาษาเกาหลีใช้อ้า! ภาษาไทยใช้อ้อ!(น้ำเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน) 알다=รู้,ทราบ
 
== โครงสร้างประโยคพื้นฐาน ==
 
ประกอบไปด้วย 3 ส่วนพื้นฐาน อันได้แก่ ประธาน(Subject),กริยา(Verb),กรรม(Object)
 
S + O + V
저는 밥을 먹습니다.
(กระผม/ดิฉัน) (ข้าว) (กินครับ/ค่ะ)
 
Subject มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่มาเป็นประธาน หรือผู้กระทำ(ตามตัวอย่างคือ 저) 2.คำช่วยชี้ประธาน(ตามตัวอย่างคือ -는)
Object มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่มาเป็นกรรม หรือผู้ถูกกระทำ (ตามตัวอย่างคือ 밥) 2.คำช่วยชี้กรรม (ตามตัวอย่างคือ -을)
Verb มีองค์ประกอบคือ 1.คำที่แสดงการกระทำของประธาน(ตามตัวอย่างคือ 먹) 2.ส่วนที่ทำหน้าที่และมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่า "ครับ/ค่ะ" ในภาษาไทย(-습니다)
 
การที่เราจะเลือกสรรคำกริยามาใช้เราต้องทราบด้วยว่า...คำกริยานั้นต้องการกรรมมารองรับหรือไม่* เช่น
1.# 먹다 เป็นคำที่ต้องมีกรรมมารองรับ (แปลว่า อาการกิน)
2.# 식사하다 เป็นคำที่ไม่ต้องมีกรรมมารองรับ (แปลว่า รับประทานอาหาร/ทานข้าว)
 
หากต้องการถามใครหรือมีใครสักคนมาถามเราว่า กินแล้ว? เราก็คงทำหน้าสงสัย...กินอะไร...ไม่เข้าใจ
เช่นเดียวกันในภาษาเกาหลี เราคงจะไม่ถามว่า "먹었어요?" มีความหมายคือ "กินแล้ว?"
กินอะไรก็ไม่รู้...ไม่เข้าใจ...เพราะไม่มีอะไรมารองรับอาการกิน
แต่ถ้าเป็น " 밥을 먹었어요?" (OK! เป็นที่สามารถทำความเข้าใจกันได้)
 
แล้ว "식사했어요?" ก็(OK!) เพราะว่ามีความสมบูรณ์อยู่ในตัวเองแล้ว
 
กล่าวคือคำว่า "식사하다" เขียนได้อีกรูปหนึ่งคือ "식사(를) 하다" ......ซึ่งคำว่า 식사 = meal(มื้ออาหาร) เป็นผู้ถูกกระทำนั่นเอง
 
== คำช่วยชี้ประธาน(-이/-가),(-은/-는) และคำช่วยชี้กรรม(-을/-를) ==
คำช่วยเหล่านี้ใช้เติมไว้หลังคำนาม เพื่อบอกหน้าที่ของคำนามนั้นๆ ว่าเป็นประธาน ,หัวเรื่อง หรือเป็นกรรมในประโยค
 
บรรทัดที่ 61:
เวลาจะถามใครสักคน เราก็เดินไปหาเขาแล้วพูดว่า กินข้าวหรือยัง? จะไม่นิยมพูดประโยคเต็มๆเลยว่า เธอกินข้าวหรือยัง? เป็นต้น
 
== การใช้ -ㅂ니다/-습니다. และ -습니까? ==
 
เป็นรูปแบบการลงท้ายประโยคที่มีความสุภาพมาก ๆ และยังเป็นการแสดงถึงความมีมารยาท ความเคารพ และความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อคู่สนทนา
โดยปกติแล้วมักใช้ในพิธีการต่อหน้าแขกเหรื่อทั้งหลาย-กลุ่มผู้คน หรือใช้ในการกล่าวสุนทรพจน์ หรือใช้กับผู้ที่มีความอาวุโสกว่าเรามาก ๆ ทั้งในด้านวัยวุฒิและคุณวุฒิ ก็ได้
 
== 와/과 และ 하고 ==
 
== การใช้ -(아/어/여)요 ==
เป็นการลงท้ายประโยคที่เราพูดจบอีกแบบหนึ่งซึ่งมีความสุภาพปานกลาง ที่แสดงให้เห็นถึงความมีมารยาท ความมีชนชั้นอาวุโส ความอ่อนน้อมและการให้ความเป็นกันเองกับคู่สนทนา
ในระดับที่กล่าวได้ว่า "เป็นกันเองและเข้าถึงผู้คนได้ง่ายกว่ารูป -십니다."
มักพบได้บ่อยในควาสัมพันธ์ดังเช่น ศิษย์-ครู ระหว่างเพื่อนกัน รุ่นพี่-รุ่นน้อง ในเครือญาติ เป็นต้น
 
== การใช้ -예요./-이에요. ==
 
มาจาก 이다 + -(아/어/여)요.
หน้ากริยา이다 จะเป็นคำนามเสมอ ถ้าคำนามข้างหน้ามีตัวสะกดกริยา이다 จะผันเป็น 이에요. แต่ถ้าคำนามข้างหน้าไม่มีตัวสะกดกริยา 이에요 จะผันเป็น 예요.
 
== การใช้ -(으)세요 / -지 마세요. ==
-(으)세요.(บอกให้เขา...ทำอย่างนั้น...ทำอย่างนี้)
-지 마세요.(บอกให้เขา...อย่าทำอย่างนั้น...อย่าอย่างนี้) 말다=อย่า
 
-(으)세요.(บอกให้เขา...ทำอย่างนั้น...ทำอย่างนี้)
== การใช้ -에/-에서==
-지 마세요.(บอกให้เขา...อย่าทำอย่างนั้น...อย่าอย่างนี้) 말다=อย่า
(สถานที่)에 가다. (สถานที่)에 있다.
(สถานที่)에 오다. (สถานที่)에 없다.
(สถานที่)에서 ?다.
 
== การใช้ -에/-에서 ==
== Direction "똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로"==
 
(สถานที่)에 가다. (สถานที่)에 있다.
(สถานที่)에 오다. (สถานที่)에 없다.
(สถานที่)에서 ?다.
 
== Direction "똑바로,앞으로,왼쪽으로,오른쪽으로" ==
 
==Preposition "위(ข้างบน),앞(ข้างหน้า),아래(ข้างล่าง),밑(ข้างใต้),뒤(ข้างหลัง),건너편(ฝั่งตรงกันข้าม),옆(ข้าง ๆ)"==
 
== Preposition "위(ข้างบน),앞(ข้างหน้า),아래(ข้างล่าง),밑(ข้างใต้),뒤(ข้างหลัง),건너편(ฝั่งตรงกันข้าม),옆(ข้าง ๆ)" ==
== การใช้ Adjective==
ก่อนใช้ต้องผันคำให้ลงท้ายด้วย -ㄴ/은
크다(ใหญ่) 큰 가방(กระเป๋าใบใหญ่)
작다(เล็ก) 작은 가방(กระเป๋าใบเล็ก)
 
== การใช้คำลักษณะนามในภาษาเกาหลี Adjective ==
 
ก่อนใช้ต้องผันคำให้ลงท้ายด้วย -ㄴ/은
 
크다(ใหญ่) 큰 가방(กระเป๋าใบใหญ่)
== คำตัวเลข ยืมจีน/เกาหลีแท้ ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง==
작다(เล็ก) 작은 가방(กระเป๋าใบเล็ก)
 
== Wh-Question(การใช้คำลักษณะนามในภาษาเกาหลี) ==
 
어떻게(อย่างไร ) ^^ - 어떻게 가세요?.........................ไปอย่างไรครับ/ค่ะ?
어느(อันไหน-สิ่งไหน) - 어느 나라에서 왔습니까?..................มาจากประเทศไหนครับ/ค่ะ?
어디(ที่ไหน) - 어디에서 왔습니까? 방콕에서 왔습니다.....มาจากที่ไหนครับ/ค่ะ? มาจากกรุงเทพฯ ครับ/ค่ะ.
얼마 (ประมาณเท่าไหร่) - 이게 얼마예요?...........................อันนี้ (ราคา)เท่าไหร่ครับ/ค่ะ?
얼마나(ยาวนานเท่าไหร่) - 거기 가면 시간이 얼마나 걸려요?............ถ้าจะไปที่โน่น ใช้เวลานานเท่าไหร่ครับ/ค่ะ?
누구,누가,누군(ใคร) - 누구와 함께 왔어요?.......................มา(พร้อมกัน/ด้วยกัน)กับใครครับ/ค่ะ?
왜(ทำไม) - 왜 늦게 왔어요?...........................ทำไมมาสายครับ/ค่ะ?
뭐,무엇(อะไร) - 이게 뭐예요?/이것은 무엇입니까?.............................อันนี้ คืออะไรครับ/ค่ะ?
언제(เมื่อไหร่) - 언제 왔습니까?.............................มาตั้งแต่เมื่อไหร่ครับ/ค่ะ?
 
== คำตัวเลข ยืมจีน/เกาหลีแท้ ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง ==
어떤(แบบไหน) -
무슨(อะไร)ขยายคำนามโดยการวางไว้หน้าคำนาม เช่น 무슨 책=หนังสืออะไร 무슨 일=เรื่องอะไร
*어떻게 왔십니까? / 어떻게 왔어요? เป็นสำนวนที่มีนัยว่า มาทำอะไรที่นี่หรอครับ/ค่ะ? เป็นการเลี่ยงการใช้ถามตรง ๆว่า 왜 왔어요? / 왜 왔습니까?
ก็เหมือนกันกับที่เวลาเราเดินสวนทางกับคนรู้จักเราก็ถามว่า "ไปไหนมาหรือ?" เราก็ตอบไปประมาณว่า "มากินข้าว, มาซื้อของ ..."
แทนที่จะถามว่า "มาทำไมที่นี่?" ซึ่งถ้าถามว่าทำไมถึงมา(คงเป็นการดูไม่สุภาพเอาเสียเลย)
 
== Wh-Question(เกาหลี) ==
== ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธโดยใช้ -지 않다./-지 못하다.==
 
어떻게(อย่างไร ) ^^ - 어떻게 가세요?.........................ไปอย่างไรครับ/ค่ะ?
어느(อันไหน-สิ่งไหน) - 어느 나라에서 왔습니까?..................มาจากประเทศไหนครับ/ค่ะ?
어디(ที่ไหน) - 어디에서 왔습니까? 방콕에서 왔습니다.....มาจากที่ไหนครับ/ค่ะ? มาจากกรุงเทพฯ ครับ/ค่ะ.
얼마 (ประมาณเท่าไหร่) - 이게 얼마예요?...........................อันนี้ (ราคา)เท่าไหร่ครับ/ค่ะ?
얼마나(ยาวนานเท่าไหร่) - 거기 가면 시간이 얼마나 걸려요?............ถ้าจะไปที่โน่น ใช้เวลานานเท่าไหร่ครับ/ค่ะ?
누구,누가,누군(ใคร) - 누구와 함께 왔어요?.......................มา(พร้อมกัน/ด้วยกัน)กับใครครับ/ค่ะ?
왜(ทำไม) - 왜 늦게 왔어요?...........................ทำไมมาสายครับ/ค่ะ?
뭐,무엇(อะไร) - 이게 뭐예요?/이것은 무엇입니까?.............................อันนี้ คืออะไรครับ/ค่ะ?
언제(เมื่อไหร่) - 언제 왔습니까?.............................มาตั้งแต่เมื่อไหร่ครับ/ค่ะ?
 
어떤(แบบไหน) -
무슨(อะไร)ขยายคำนามโดยการวางไว้หน้าคำนาม เช่น 무슨 책=หนังสืออะไร 무슨 일=เรื่องอะไร
 
* 어떻게 왔십니까? / 어떻게 왔어요? เป็นสำนวนที่มีนัยว่า มาทำอะไรที่นี่หรอครับ/ค่ะ? เป็นการเลี่ยงการใช้ถามตรง ๆว่า 왜 왔어요? / 왜 왔습니까?
== ข้อแตกต่างระหว่างการใช้ 안/못==
 
ก็เหมือนกันกับที่เวลาเราเดินสวนทางกับคนรู้จักเราก็ถามว่า "ไปไหนมาหรือ?" เราก็ตอบไปประมาณว่า "มากินข้าว, มาซื้อของ ..."
1.숙제를 안해요.(ฉันไม่ทำการบ้าน ฉันไม่ทำ ก็แปลว่าฉันไม่ทำ ฉันไม่ทำเอง ประมาณว่า 마음대로 해요.(ตามใจฉัน-เหตุเกิดจากฉันเอง)
แทนที่จะถามว่า "มาทำไมที่นี่?" ซึ่งถ้าถามว่าทำไมถึงมา(คงเป็นการดูไม่สุภาพเอาเสียเลย)
2.숙제를 못해요.(ฉันทำการบ้านไม่ได้ ฉันก็ทำไม่ได้ก็เพราะมีเหตุ ที่ทำให้ฉันทำไม่ได้(มีเหตุภายนอกมากระทำ) และฉันสามารถอธิบายได้ว่าเพราะอะไรทำไมฉันถึงไม่ทำ )
 
== ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธโดยใช้ -지 않다./-지 못하다. ==
== ข้อควรระวังการใช้ 안/못==
 
 
คำกริยาที่มาจากรูป " '''???하다''' " และสามารถทำให้อยู่ในรูป" '''???(를) 하다''' "ได้ เช่น
== ข้อแตกต่างระหว่างการใช้ 안/못 ==
 
청소하다 - - - 청소(를) 하다
# 숙제를 안해요.(ฉันไม่ทำการบ้าน ฉันไม่ทำ ก็แปลว่าฉันไม่ทำ ฉันไม่ทำเอง ประมาณว่า 마음대로 해요.(ตามใจฉัน-เหตุเกิดจากฉันเอง)
빨래하다 - - - 빨래(를) 하다[[ลิงก์เชื่อมโยง]]
# 숙제를 못해요.(ฉันทำการบ้านไม่ได้ ฉันก็ทำไม่ได้ก็เพราะมีเหตุ ที่ทำให้ฉันทำไม่ได้(มีเหตุภายนอกมากระทำ) และฉันสามารถอธิบายได้ว่าเพราะอะไรทำไมฉันถึงไม่ทำ )
공부하다 - - - 공부(를) 하다
 
== ข้อควรระวังการใช้ 안/못 ==
ให้กลับไปอยู่ในรูป"???(를) 하다"
 
แล้วจึงเติมค่อย 안/못 ที่หน้าตำแหน่งคำว่า"하다"
คำกริยาที่มาจากรูป " '''???하다''' " และสามารถทำให้อยู่ในรูป" '''???(를) 하다''' "ได้ เช่น
 
ห้ามไม่ให้ใช้ ..." '''(안/못)???(를) 하다.''' " ...(ผิด)
청소하다 - - - 청소(를) 하다
เพราะว่าหลังคำว่า(안/못)เป็นคำกริยาได้เท่านั้น..." '''???(를) (안/못)하다.''' " ...(ถูก)
빨래하다 - - - 빨래(를) 하다[[ลิงก์เชื่อมโยง]]
공부하다 - - - 공부(를) 하다
หากไม่แน่ใจแล้ว แนะนำให้ใช้รูป '''-지 않다./ -지 못하다.'''
 
ให้กลับไปอยู่ในรูป"???(를) 하다"
แล้วจึงเติมค่อย 안/못 ที่หน้าตำแหน่งคำว่า"하다"
 
ห้ามไม่ให้ใช้ ..." '''(안/못)???(를) 하다.''' " ...(ผิด)
เพราะว่าหลังคำว่า(안/못)เป็นคำกริยาได้เท่านั้น..." '''???(를) (안/못)하다.''' " ...(ถูก)
 
หากไม่แน่ใจแล้ว แนะนำให้ใช้รูป '''-지 않다./ -지 못하다.'''
 
 
--**--
 
== 그래서/그런데/그러니까/그러나/이렇게/그렇게/왜냐하면 ==
 
== ทำให้อยู่ในรูปอดีตการโดยการใช้ -았다/-었다/-였다 ==
 
== ทำให้อยู่ในรูปอนาคตโดยการใช้ -겠습니다./ -ㄹ(을) 거예요./-ㄹ께요. ==
 
== -(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요. ==
 
เป็นสำนวนที่ใช้พูดตอบโต้กันระหว่างบุคคลเพื่อบอกว่า
 
# '''ทำ...ได้ไหม?''' verb stem-아/어/여도 돼요?
# '''ถ้าทำ...ไม่ได้ครับ/ทำไม่ได้ค่ะ.''' verb stem-(으)면 안돼요.
# '''ถ้าทำ...ก็ได้ครับ/ก็ได้ค่ะ.''' verb stem-(으)면 돼요.
 
* หมายเหตุ : -(으)면 = if , 돼요. = ได้ครับ./ได้ค่ะ. , *돼요 อ่านว่า (ดเว)-โย
* สำนวนน่าจำ : 잊지 마세요!(อย่าลืม) , 하지 마세요!(อย่าทำอย่านั้น)
 
== ปัจจุบันกำลังกระทำ -고 ==
== -(아/어/여)도 돼요? / -(으)면 돼요? / -(으)면 안돼요. / -(으)면 돼요.==
เป็นสำนวนที่ใช้พูดตอบโต้กันระหว่างบุคคลเพื่อบอกว่า
1.'''ทำ...ได้ไหม?''' verb stem-아/어/여도 돼요?
2.'''ถ้าทำ...ไม่ได้ครับ/ทำไม่ได้ค่ะ.''' verb stem-(으)면 안돼요.
3.'''ถ้าทำ...ก็ได้ครับ/ก็ได้ค่ะ.''' verb stem-(으)면 돼요.
*หมายเหตุ : -(으)면 = if , 돼요. = ได้ครับ./ได้ค่ะ. , *돼요 อ่านว่า (ดเว)-โย
 
== -ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다. ==
*สำนวนน่าจำ : 잊지 마세요!(อย่าลืม) , 하지 마세요!(อย่าทำอย่านั้น)
 
== -ㅂ시다/-ㄹ까요? ==
== ปัจจุบันกำลังกระทำ -고==
 
== -(으)려고 가요./-(으)려고 와요. .... -(으)러 가요./-(으)러 와요. ==
== -ㄹ(을) 수 있다/ -ㄹ(을) 수 없다.==
 
'''-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. มีแผนไว้เพื่อไปทำ.../มาทำ...'''
== -ㅂ시다/-ㄹ까요?==
 
หมายเหตุ : -(으)려고 = "plan to..."
== -(으)려고 가요./-(으)려고 와요. .... -(으)러 가요./-(으)러 와요.==
มีแผนการคิดไว้ในใจอย่างดีแล้วว่าจะไปทำอะไร หรือมีแผนการที่จะมาทำอะไรสักอย่าง (ประมาณว่าวางแผนมาเสียอย่างดิบดี)
 
'''-(으)려고 가요./-(으)려고 와요. มีแผนไว้เพื่อที่ไปทำ.../มาทำ...'''
หมายเหตุ : -(으)려고 = "plan to..."
มีแผนการคิดไว้ในใจอย่างดีแล้วว่าจะไปทำอะไร หรือมีแผนการที่จะมาทำอะไรสักอย่าง (ประมาณว่าวางแผนมาเสียอย่างดิบดี)
 
หมายเหตุ : -(으)러 = "for..."
'''-(으)러 가요./-(으)러 와요. เพื่อที่ไปทำ.../มาทำ...'''
ไปเพื่อทำอะไรสักอย่าง หรือมาเพื่อทำอะไรสักอย่าง เช่น 밥을 먹으러 = เพื่อกินข้าว , 책을 읽으러 = เพื่ออ่านหนังสือ
หมายเหตุ : -(으)러 = "for..."
ไปเพื่อทำอะไรสักอย่าง หรือมาเพื่อทำอะไรสักอย่าง เช่น 밥을 먹으러 = เพื่อกินข้าว , 책을 읽으러 = เพื่ออ่านหนังสือ
 
แต่ที่ต่างกันคือ -(으)러 มีน้ำหนักของความกระตือรือร้นและความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งน้อยกว่า -(으)려고 เพียงไม่มากนัก
 
== -(으)십시오. ==
 
'''มักพบการลงท้ายประโยคแบบนี้บ่อยครั้งในส่วนที่เป็นคำสั่งของแบบฝึกหัด และแบบทดสอบต่าง ๆ''' หมายถึง "จงทำ..."
เช่น ( )에 알맛은 것을 고르습니오. หมายถึง จงเลือกสิ่งที่เหมาะสมลงใน( ) 고르다=อาการเลือก(choose) 것=สิ่ง(thing) 알맛=เหมาะสม