ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เบลนเดอร์ ทรีดี: จากมือใหม่สู่มือโปร/View Properties and Background"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Gumara (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: เก็บกวาด
บรรทัดที่ 1:
[[ภาพไฟล์:Blender.3dview_mainmenu_view1.png|thumb|เมนูสำหรับเรียก View Properties และ Background Image]]ใน 3d View ของ Blender นั้นเราสามารถปรับแต่งรายลเอียดของพื้นหลังได้ เช่น ใส่ภาพ ปรับขนาดกริด ผ่านหน้าต่างการจัดการของ View Properties และ Background Image โดยการเรียกหน้าต่างทั้ง 2ขึ้นมานั้นสามมารถทำได้ผ่านเมนูหลักของ 3d View > View > View Properties , Background Image
== Background Image ==
[[ภาพไฟล์:Blender.dialog_background_image.png|thumb|หน้าต่าง Background Image]]
[[ภาพไฟล์:Blender.3dview_background_image.png|thumb|ใส่ภาพพื้นหลัง ในมุมมองด้านบนทั้ง 2หน้าต่าง โดยแต่ละหน้าต่างจะเป็นคนละภาพกัน]]
Background Image จะใช้สำหรับ ใส่ภาพพื้นหลังลงไปใส 3d View ซึ่งคุณอาจใส่ภาพที่ต้องการลงไป เพื่อวาดตาม หรืออาจใส่เพื่อเป็นตัวอย่างของ โมเดลที่จะสร้างก็แล้วแต่
'''วิธีใช้'''
บรรทัดที่ 16:
จะเห็นได้ว่า การปรับย้ายตำแหน่งของภาพนั้น จะมีเพียงแค่ ซ้าย – ขวา และ บน – ล่าง ซึ่งจะเป็นการขยับในแนวแกน X - Y เท่านั้น เป็นเพราะการแสดงผลของภาพพื้นหลังนั้น จะแสดงได้ในแนนนอนเท่านั้น จึงไม่สามารถขยับภาพในแนวแกน Z ได้ การแสดงภาพพื้นหลังบน 3d View นั้นจะแสดงได้ที่หน้าต่างละ 1ภาพ เช่นคุณอาจใส่หน้าคนแบบตรงๆ ในมุมมองด้านหน้า และใส่หน้าคน ด้านข้าง ในมุมมองจากด้านข้างก็ได้ แต่ที่พิเศษกว่าโปรแกรม 3มิติอื่นๆนั่นคือ คุณอาจใส่ ทั้ง 2ภาพในมุมมองเดียวก็ได้ ด้วยการแสดงมุมมองนั้น ใน2หน้าต่าง และในแต่ละหน้าต่างก็ใส่ภาพคนละภาพกัน
== View Properties ==
[[ภาพไฟล์:Blender.dialog_view_properties.png|thumb|หน้าต่าง View Properties]]
View Properties จะใช้สำหรับปรับแต่งค่าต่างๆภายใน 3d View เช่น ปรับแต่งกริด หรือการย้ายตำแหน่งเคอเซอร์เป็นต้น
 
บรรทัดที่ 23:
** Spacing : ปรับระยะความห่างระหว่างเส้นกริด
** Lines : จำนวนของเส้นกริดที่ต้องการ
* View Camera :
** Lens : เลนส์ของกล้องที่จะสามารถปรับได้ คล้ายกับกล้องฟิลม์แบบ 16มม. หรือ35มม.
** Clip Start : ระยะเริ่มต้นของสิ่งที่จะมองเห็น
** Clip End : ระยะสิ้นสุดของสิ่งที่จะมองเห็น
* 3D Display :
** Grid Floor : เลือกเพื่อให้แสดงเส้นกริด
** X Axis : แสดงเส้นแนวแกน X
** Y Axis : แสดงเส้นแนวแกน Y
** Z Axis : แสดงเส้นแนวแกน Z
* 3D Cursor :
** X : ย้ายตำแหน่งเคอเซอร์ในแกน X
** Y : ย้ายตำแหน่งเคอเซอร์ในแกน Y
บรรทัดที่ 40:
ในการปรับค่าของ View Camera นั้นจะเป็นการกระทำกับ มุมมอง Perspective ของหน้าต่างนั้นๆเท่านั้น ไม่ใช่การปรับค่าของ Camera ที่ใช้ในการเรนเดอร์แต่อย่างใด สำหรับ Outline Selected Objects นั้นเราจะเห็นผลได้กับเฉพาะมุมมองของ Mode การแสดงผลวัตถุแบบ Solid, Shaded, Textured เท่านั้น
คุณสามารถปรับกริดให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนับได้โดยง่ายด้วยการปรับค่าของ Grid Spacing เป็น 2 การปรับค่าแบบนี้จะเหมาะกับ การสร้างโมเดลที่ต้องการค่าของกริดที่ตรงกับระยะจริงของโมเดล เช่นงานสถาปัตยกรรม ซึ่งระยะของโมเดลจะตรงกับกริด แตกต่างกับค่าของกริดดั้งเดิม ที่ตั้งไว้เป็น1 ซึ่งจะมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งเช่น โมเดลลูกเต๋า ขนาด 1x1x1 เราจะเห็นว่ามันอยู่ในเส้นกริด 2ช่อง ซึ่งคุณอาจเข้าใจผิดว่า มันมีขนาดเป็น 2x2x2 ซึ่งในการสร้างโมเดลที่ต้องการระยะจริงนั้น ยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณสร้างเสาบ้าน สูง5เมตร แต่โปรแกรมกลับแสดงเส้นกริด 10เส้น มันจะทำให้คุณงงได้ไม่น้อยเลย ฉะนั้นถ้าคุณต้องทำงานในแบบที่ต้องใช้ระยะเป็นตัวคำนวน เช่นงานสถาปัตยกรรม ผมขอแนะนำให้คุณตั้งค่าของ Grid Spacing เป็น2 เพื่อให้หน่วยของวัตถุที่มีค่าเป็น1 ลงกรับกริดในระยะ1ช่อง
[[หมวดหมู่:Blender 3D]]