ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอเพนออฟฟิศดอตอ็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzero (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nullzero (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 400:
* [[OpenOffice/เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ|เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ]]
* [[OpenOffice/การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร|การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร]]
 
[[หมวดหมู่:คู่มือคอมพิวเตอร์]]
[[หมวดหมู่:OpenOffice]]'''OpenOffice'''
 
== แนะนำ OpenOffice.org==
OpenOffice.org เป็นชุดโปรแกรมสำเร็จรูปด้านสำนักงานที่มีความสามารถครบถ้วน โดยประกอบไปด้วย Writer โปรแกรมด้านประมวลผลคำ, Calc โปรแกรมด้านตารางคำนวณ, Impress โปรแกรมด้านการนำเสนอ, Drawโปรแกรมสำหรับการวาดภาพ, Math โปรแกรมสร้างสมการคณิตศาสตร์ และ Base โปรแกรมสร้างและจัดการฐานข้อมูล ซึ่งสามารถทำงานกับภาษาไทยได้อย่างสมบูรณ์ และใช้งานร่วมกับเอกสารไมโครซอฟท์ออฟฟิศได้เป็นอย่างดี
ข้อดีของโปรแกรม OpenOffice.org อีกประการหนึ่งก็คือเราสามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรี และเป็นซอฟท์แวร์ประเภท OpenSource คือมีการแจกซอร์สโค้ดของโปรแกรมออกไปให้พัฒนาได้อย่างอิสระ
 
*[[ผลิตภัณฑ์ในชุด OpenOffice.org]]
*[[การใช้งาน OpenOffice.org แทน Microsoft Office]]
*[[การติดตั้ง OpenOffice.org]]
 
== รู้จักภาพรวมของ OpenOffice.org ==
หลังจากการติดตั้งโปรแกรม OpenOffice.org เสร็จสิ้น เราสามารถเปิดดูรายชื่อโปรแกรมที่ติดตั้งได้โดยคลิกเมาส์ปุ่ม Start เลือก All Programs (ในที่นี้เราแสดงการใช้งาน OpenOffice.org บนระบบปฏิบัติการ Windows XP เป็นหลักหากเราติดตั้ง OpenOffice.org บน Windows รุ่นอื่นๆ ก็สามารถประยุกต์ใช้ได้ เพราะมีฟังก์ชั่นการทำงานที่คล้ายกัน)
 
จากหน้าตาของเมนูย่อยโปรแกรม OpenOffice.org นั้น มีไอคอนสำหรับเรียกใช้โปรแกรมต่างๆ ดังนี้
 
หากเราคลิกที่ จะเป็นการเปิดหน้าจอต้อนรับของโปรแกรม Open Office.org ขึ้นมา ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
 
'''NOTE'''
หลังติดตั้ง OpenOffice.org เมื่อเปิดเข้าใช้งานโปรแกรมต่างๆ ครั้งแรก โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างต้อนรับ และให้เราลงทะเบียนชื่อผู้เข้าใช้งานก่อน (ทำครั้งเดียว)
 
 
เมื่อเราเข้าสู่โปรแกรมหลักใน OpenOffice.org ไม่ว่าจะเป็น Writer, Calc, Impress หรือ Draw จะมีส่วนประกอบหลายอย่างที่เหมือนกัน อาทิ การจัดวางกลุ่มคำสั่ง การขอความช่วยเหลือ ซึ่งเราจะกล่าวถึงในบทนี้
*[[เมนูคำสั่ง]]
*[[ขอความช่วยเหลือใน OpenOffice.org]]
*[[เปลี่ยนแถบเมนูจากอังกฤษเป็นไทย]]
*[[กำหนดการใช้งาน OpenOffice.org สำหรับภาษาไทย]]
*[[กำหนดให้ OpenOffice.org เซฟไฟล์งานอัตโนมัติ]]
 
== OpenOffice.org Writer ==
=== รู้จักโปรแกรม OpenOffice.org Writer ===
การบันทึกข้อมูลในการทำงานไม่ว่าจะเป็น รายงานการประชุม สรุปยอดขาย จดหมาย หรือเอกสารสำคัญๆ เหล่านี้โดยใช้มือเขียน หรือใช้เครื่องพิมพ์ดีดแบบในอดีตนั้นล้าสมัยไปเสียแล้ว เพราะข้อมูลเหล่านั้นอาจเสียหาย หรือชำรุดไปได้ง่าย อีกทั้งยังเกิดความยุ่งยากเมื่อต้องการแก้ไขหรือตกแต่งข้อมูล จึงขอแนะนำวิธีแก้ไขปัญหาเหล่านั้นโดยการใช้โปรแกรม OpenOffice.org Writer จะช่วยลดขั้นตอนเหล่านี้ได้
*[[โปรแกรม Writer ทำอะไรได้บ้าง]]
*[[การเข้าสู่โปรแกรม OpenOffice.org Writer]]
*[[ส่วนประกอบของหน้าต่างเอกสาร]]
*[[รู้จักตัวชี้เมาส์]]
*[[กำหนดรูปแบบหน้ากระดาษก่อนเริ่มทำงาน]]
*[[การพิมพ์ข้อความเบื้องต้น]]
*[[การแทรกข้อความ และการลบข้อความ]]
*[[การเลือกตัวอักษรหรือข้อความบางส่วน]]
*[[การลบข้อความ]]
*[[การเลื่อนดูเอกสาร]]
*[[แสดงสัญลักษณ์เกี่ยวกับการจัดข้อความในย่อหน้า]]
*[[การสร้างเอกสารใหม่]]
*[[การบันทึกเอกสาร]]
*[[การปิดเอกสาร]]
*[[การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน]]
*[[การออกจากโปรแกรม OpenOffice.org Writer]]
 
=== เริ่มต้นการสร้างเอกสาร ===
ในบทนี้เราจะเริ่มต้นสร้างเอกสาร และใช้งานมุมมองต่างๆ ในการแสดงข้อความ การแก้ไข และจัดการข้อความในเอกสารให้เป็นระเบียบ
*[[การใช้มุมมองต่างๆ ใน Writer]]
*[[แสดงเอกสารเต็มจอภาพ]]
*[[ย่อ/ขยายเอกสารที่แสดงบนจอภาพ]]
*[[การจัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวาในเอกสาร]]
*[[การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง]]
*[[การกำหนดตำแหน่งแท็บหยุด]]
*[[ปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อ]]
*[[แบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์]]
*[[การใช้คำสั่ง Undo และ Redo]]
*[[การย้ายข้อความ]]
*[[การคัดลอกข้อความ]]
*[[การกำหนดฟอนต์เริ่มต้นให้กับเอกสาร]]
*[[การใช้สไตล์ย่อหน้า]]
 
=== การตกแต่งเอกสาร ===
Font (ฟอนต์) คือรูปแบบตัวอักษรใน Windows ที่เรานำมาใช้ได้ การใช้ฟอนต์ที่แตกต่างกันจะทำให้ข้อความในเอกสารดูน่าสนใจ สำหรับแต่ละฟอนต์จะมีชื่อประจำตัวอยู่ เช่น Arial, CordiaUPC, Times New Roman เป็นต้น
ฟอนต์ แบ่งได้เป็นฟอนต์สากลที่ถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย และมีฟอนต์ที่ถูกออกแบบไว้ใช้กับภาษาในแต่ละประเทศ เช่น ฟอนต์ตระกูล DB, ฟอนต์ตระกูล JS หรือฟอนต์ที่ลงท้ายด้วย UPC เป็นฟอนต์ที่ถูกสร้างสำหรับใช้งานกับภาษาไทย เป็นต้น
*[[การเลือกฟอนต์ที่ใช้]]
*[[การเปลี่ยนขนาดฟอนต์]]
*[[กำหนดข้อความที่แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอียง และขีดเส้นใต้]]
*[[ตกแต่งข้อความด้วยสี]]
*[[ปรับแต่งรูปแบบตัวอักษรเพิ่มเติม]]
 
=== การแทรกรูปภาพ รูปวาด แผนภูมิ และสมการคณิตศาสตร์ ===
เราอาจต้องนำกราฟ ผังองค์กร สมการคณิตศาสตร์ เพื่อนำมาประกอบกับเนื้อหา หรืออาจใช้รูปภาพเสริมประเด็นที่เขียนถึง หรือใช้ตกแต่งเอกสารให้ดูมีสีสันมากขึ้น
*[[การแทรกภาพลงบนเอกสาร]]
*[[การจัดการรูปภาพ]]
*[[จัดวางข้อความให้ล้อมภาพในเอกสาร]]
*[[วาดรูปลงในเอกสาร]]
*[[การใช้แผนภูมิ]]
*[[แก้ไขข้อมูลในแผนภูมิที่สร้าง]]
*[[การเขียนสมการคณิตศาสตร์]]
 
=== การใช้งานตาราง ===
การเก็บข้อมูลอยู่ในรูปของตาราง โดยการแบ่งเนื้อหาออกเป็นแถวและคอลัมน์ จะช่วยให้ข้อมูลในปริมาณมาก ดูเป็นระเบียบและอ่านได้ง่าย ตารางประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Row (แถว) และ Columns (คอลัมน์) จุดที่ตัดกันของแถวและคอลัมน์เกิดเป็นช่อง ช่องแต่ละช่องที่เกิดขึ้น เรียกว่า Cells (เซลล์)
*[[เริ่มต้นสร้างตาราง]]
*[[การกรอกข้อมูลและการเลื่อนเคอร์เซอร์]]
*[[การเลือกเซลล์ แถว หรือคอลัมน์]]
*[[การเพิ่มแถวและคอลัมน์]]
*[[การลบแถวหรือลบคอลัมน์]]
*[[การปรับขนาดของตาราง]]
*[[การผสานช่องเซลล์และการแยกช่องเซลล์ในตาราง]]
*[[การปรับข้อมูลให้ชิดด้านบน กึ่งกลาง หรือด้านล่างช่องตาราง]]
*[[การจัดแนวการวางของข้อความในตาราง]]
*[[ใส่สีสันลงในตาราง]]
*[[การคำนวณค่าในตาราง]]
*[[การเรียงลำดับข้อมูลในตาราง]]
*[[การตกแต่งตารางด้วย AutoFormat]]
 
=== จัดการเอกสารอย่างมืออาชีพ ===
Writer มีความสามารถในการจัดการเอกสาร ตั้งแต่การค้นหาและแทนที่ด้วยคำใหม่ การตรวจคำผิดและไวยากรณ์ ไปจนถึงการแก้ไขคำที่มักพิมพ์ผิดให้โดยอัตโนมัติ ซึ่งจะช่วยให้การสร้างเอกสารนั้นสะดวกรวดเร็ว
*[[การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร]]
*[[การค้นหาสิ่งต่างๆ ในเอกสารด้วย Navigation]]
*[[ตรวจสอบการสะกดคำด้วย Spellcheck]]
*[[แก้ไขคำที่พิมพ์ผิดโดยอัตโนมัติด้วย AutoCorrect]]
*[[การกรอกข้อความโดยอัตโนมัติด้วย AutoText]]
*[[นับจำนวนคำและตัวอักษรในเอกสาร]]
 
=== การสร้างจดหมาย ===
ในโปรแกรม Writer นั้นมีชุดคำสั่งอัตโนมัติ (เรียกว่า Wizard หรือตัวช่วยสร้าง) ทำให้เราสามารถสร้างจดหมาย ใบปะหน้าแฟกซ์ และสร้างซองจดหมายได้รวดเร็วทันใจ
*[[การสร้างจดหมาย]]
*[[การพิมพ์ซองจดหมาย]]
*[[ใบปะหน้าแฟกซ์]]
 
=== การจัดทำเอกสารที่ซับซ้อน ===
เราจะกล่าวถึงการใช้คำสั่งอัตโนมัติในการจัดทำเอกสารที่มีความซับซ้อน เช่น ดัชนี/สารบัญ การใส่ลำดับเลขหน้า การใช้หัวกระดาษ และท้ายกระดาษ
*[[การใส่ข้อความในหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ]]
*[[การใส่ลำดับเลขหน้า]]
*[[การทำดัชนี]]
*[[การจัดทำสารบัญ]]
*[[การใส่เชิงอรรถ]]
*[[การใช้ Bookmark และการอ้างอิงโยง]]
*[[การแบ่งเนื้อหาเอกสารโดยการขึ้นหน้าใหม่]]
*[[การใส่สัญลักษณ์พิเศษอื่นๆ]]
 
=== การพิมพ์งาน และการบันทึกไฟล์เป็น PDF ===
หลังจากที่เราได้แก้ไขและตกแต่งเอกสารจนเป็นที่พอใจแล้ว ต่อไปก็จะเป็นการสั่งพิมพ์เอกสาร และกำหนดรายละเอียดการพิมพ์ เช่น ขนาดกระดาษที่ใช้ การจัดวางข้อมูลบนหน้ากระดาษ ไปจนถึงข้อความที่พิมพ์ตรงหัวกระดาษ และท้ายกระดาษ
*[[ตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Page Preview]]
*[[การพิมพ์เอกสาร]]
*[[การบันทึกเอกสารเป็น PDF]]
 
== Calc สร้างตารางงาน ==
=== รู้จักกับโปรแกรม Calc ===
โลกปัจจุบันเป็นโลกแห่งข้อมูลและข่าวสาร ในทุกๆ วันเราจะพบว่ามีข้อมูลมากมายที่จะต้องนำมาจัดเก็บและทำการวิเคราะห์ เช่น ข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์ ยอดขายสินค้าของบริษัท ตัวเลขรายรับรายจ่าย และปริมาณสินค้าคงคลัง ข้อมูลเหล่านี้แม้จะมีปริมาณที่มากแต่มักจะถูกจัดเก็บในลักษณะของตาราง เพื่อให้ดูง่ายและเป็นระเบียบยิ่งขึ้น
หากเราบันทึกข้อมูลทั้งหมดลงในกระดาษเราจะพบว่าต้องใช้เวลาอย่างมาก เมื่อต้องการนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ หรือนำมาจัดทำเป็นรายงาน เพราะต้องแก้ไขข้อมูลอยู่บ่อยๆ จนบางครั้งอาจต้องพิมพ์ข้อมูลทั้งหมดใหม่ นอกจากนี้การนำข้อมูลมาคำนวณอาจเกิดข้อผิดพลาดได้ การใช้โปรแกรม Calc จะทำให้สิ่งเหล่านี้เปลี่ยนไปเพราะ Calc เป็นโปรแกรมที่สามารถจัดการข้อมูลในตารางได้เป็นอย่างดี และใช้งานได้ง่าย
*[[Calc ทำอะไรได้บ้าง]]
*[[เข้าใช้งานโปรแกรม Calc]]
*[[ส่วนประกอบของโปรแกรม Calc]]
*[[เข้าใจรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลใน Calc]]
*[[ช่องตารางหรือเซลล์ใน Calc]]
*[[เริ่มป้อนข้อมูลในเซลล์]]
*[[บันทึกไฟล์ข้อมูล]]
*[[บันทึกไฟล์ข้อมูลเป็นไฟล์ Microsoft Excel]]
*[[เรียกข้อมูลที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน]]
*[[ออกจากโปรแกรม Calc]]
 
=== การทำงานกับแผ่นงาน ===
การใช้ Calc นั้นสะดวกกว่าการบันทึกข้อมูลในกระดาษมาก เพราะการแก้ไขข้อมูลนั้นสะดวกรวดเร็ว แม้ข้อมูลในตารางจะมีปริมาณมากเท่าใดก็ตาม
ในบทนี้เราจะได้รู้จักกับวิธีแก้ไขข้อมูลที่ป้อนในตาราง การปรับขนาดความกว้างของคอลัมน์และความสูงของแถว เพื่อแสดงข้อมูลอย่างเหมาะสม จนถึงการยกเลิกคำสั่งที่ได้ทำไปในกรณีที่เกิดข้อผิดพลาด
*[[เรื่องของแถบเครื่องมือใน Calc]]
*[[การเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์]]
*[[ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องใช้บ่อย]]
*[[การย้ายข้อมูลในเซลล์]]
*[[การคัดลอกข้อมูลในเซลล์]]
*[[การแทรกข้อมูล]]
*[[การแทรกข้อมูลบางเซลล์]]
*[[การลบข้อมูลในเซลล์]]
*[[ปรับความกว้างคอลัมน์และความสูงของแถว]]
*[[การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกสิ่งที่ทำผิดพลาด]]
 
=== เรื่องของสมุดงาน และแผ่นงาน ===
เราเรียกไฟล์ที่ใช้ใน Calc ว่า สมุดงาน โดยในหนึ่งสมุดงานจะประกอบด้วยหลายหน้า ซึ่งแต่ละหน้านี้มีชื่อเรียกว่า แผ่นงาน
การมีหลายแผ่นงานในสมุดงานเดียว ทำให้เราสามารถจัดข้อมูลได้อย่างเป็นหมวดหมู่ โดยให้แยกอยู่ในแผ่นงานที่แตกต่างกัน เช่น ในสมุดงานที่เก็บยอดขายสินค้าของบริษัท เราสามารถแยกเก็บตัวเลขยอดขายของสินค้าแต่ละประเภทไว้ในแผ่นงาน 3 แผ่นที่มีชื่อว่า IT Books, SE Books และ CD-ROM ดังรูป โดยเมื่อ Calc ทำการบันทึกข้อมูลแผ่นงานเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ในไฟล์เดียวกัน
 
โดยปกติในแต่ละสมุดงาน Calc จะกำหนดให้มีแผ่นงานอยู่ 3 แผ่น อย่างไร ก็ตามเราสามารถเพิ่มหรือลดจำนวนแผ่นงานได้ถ้าต้องการ
*[[เลือกใช้แผ่นงานที่ต้องการ]]
*[[ตั้งชื่อแผ่นงาน]]
*[[ลบแผ่นงานที่ไม่ต้องการ]]
*[[แทรกแผ่นงานเพิ่ม]]
*[[ย้ายตำแหน่งแผ่นงาน]]
*[[แบ่งหน้าจอ เพื่อดูข้อมูลที่มีปริมาณมาก]]
*[[การตรึงแถวหรือคอลัมน์]]
*[[ย่อ/ขยายแผ่นงาน]]
*[[ดูข้อมูลในแผ่นงานแบบเต็มจอ]]
*[[เปิดดูหลายสมุดงานบนหน้าจอในเวลาเดียวกัน]]
*[[คัดลอก/การย้ายแผ่นงานข้ามสมุดงาน]]
 
=== การตกแต่งแผ่นงาน ===
ข้อมูลที่เราจัดทำในตาราง จะดูไม่น่าสนใจสำหรับผู้อื่นที่เราต้องการจะสื่อสารด้วย หากเราไม่ตกแต่งให้ดูสวยงาม ซึ่งในบทนี้เราจะใช้สี และรูปแบบตัวอักษรต่างๆเพื่อเน้นส่วนที่สำคัญ และการจัดข้อมูลให้ดูเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยการกำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลและการขีดเส้นตาราง
*[[กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล]]
*[[กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลข]]
*[[กำหนดรูปแบบการแสดงตัวเลขอย่างเจาะจง]]
*[[กำหนดรูปแบบการแสดงวันที่และเวลา]]
*[[กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรที่แสดงในตาราง]]
*[[กำหนดข้อมูลให้แสดงเป็นตัวหนา ตัวเอน และขีดเส้นใต้]]
*[[กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูลตามเงื่อนไข]]
*[[จัดตำแหน่งข้อมูลในแต่ละเซลล์]]
*[[วางแนวข้อมูลในเซลล์]]
*[[แสดงข้อมูลให้ครบในเซลล์]]
*[[จัดวางข้อมูลให้อยู่กึ่งกลางแถวเพื่อใช้เป็นหัวเรื่อง]]
*[[ตกแต่งข้อมูลโดยการใช้สี]]
*[[การขีดเส้นตาราง]]
*[[ยกเลิกเส้นประที่ Calc ขีดระหว่างเซลล์]]
*[[การใช้ AutoFormat ตกแต่งตารางโดยอัตโนมัติ]]
 
=== การใช้สูตรคำนวณ ===
นอกจาก Calc จะสามารถบันทึกข้อมูลในตารางและตกแต่งข้อมูลให้ดูสวยงามดังที่เราได้เห็นในบทที่ผ่านมาแล้ว Calc ยังมีคุณสมบัติที่สำคัญมากนั่นคือ การคำนวณข้อมูลในตาราง โดยใช้สูตรและฟังก์ชั่นการคำนวณที่สามารถให้ผลลัพธ์ได้อย่างแม่นยำและรวดเร็ว ในบทนี้จะกล่าวถึงการใช้สูตรคำนวณ การคัดลอกและเคลื่อนย้ายสูตรใน Calc
*[[เข้าใจการใช้สูตรคำนวณ]]
*[[ป้อนสูตรคำนวณ]]
*[[ทำไมต้องใช้สูตร]]
*[[การแก้ไขสูตรคำนวณ]]
*[[การย้ายและคัดลอกสูตรคำนวณ]]
*[[คัดลอกสูตรอย่างรวดเร็วด้วย AutoFill]]
*[[การอ้างอิงเซลล์ในสูตรคำนวณโดยใช้ชื่อหัวคอลัมน์]]
*[[การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงานและสมุดงาน]]
*[[ใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน หรือสมุด]]
*[[กำหนดชื่อกลุ่มเซลล์และนำมาใช้ในสูตร]]
 
=== ฟังก์ชั่นการคำนวณ ===
ใน Calc มีฟังก์ชั่นการคำนวณที่เราสามารถนำมาใช้ได้ โดยไม่ต้องสร้างสูตรคำนวณที่ซับซ้อนด้วยตัวเราเอง เช่น แทนการใช้สูตร =E5+E6+E7 เราสามารถใช้ฟังก์ชั่น =SUM(E5:E7) ได้ที่มีความหมายว่าให้หาผลรวมตั้งแต่เซลล์ E5 จนถึง E7
กรณีที่เราได้ตั้งชื่อกลุ่มเซลล์ไว้ เช่น เซลล์ E4 ถึง E7 มีชื่อเป็น Dec เราก็สามารถใช้ชื่อกลุ่มเซลล์นั้นกับฟังก์ชั่นได้เลย =SUM(Dec)
เราจะพบว่าสำหรับการคำนวณแบบต่างๆ ที่มีการใช้บ่อย มีฟังก์ชั่นใน Calc ที่สามารถทำหน้าที่เหล่านั้นได้ การนำฟังก์ชั่นเหล่านี้มาใช้จะทำให้การทำงานนั้น สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นเพราะเราไม่ต้องเขียนสูตรขึ้นมาใหม่ทุกครั้ง แต่สามารถนำฟังก์ชั่นที่มีอยู่แล้วมาใช้ได้ทันที
*[[แนะนำส่วนประกอบของฟังก์ชั่น]]
*[[การเขียนฟังก์ชั่น]]
*[[การใช้ฟังก์ชั่นนำร่องอัตโนมัติสร้างฟังก์ชั่นที่ต้องการ]]
*[[แนะนำฟังก์ชั่นที่สำคัญ]]
*[[การแก้ไขฟังก์ชั่น]]
*[[การใช้ Autosum]]
*[[ขอดูผลลัพธ์การคำนวณบนหน้าจอด้วย Auto Calculate]]
*[[ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการเขียนสูตรและฟังก์ชั่นผิด]]
=== การสร้างแผนภูมิแบบต่างๆ ===
เมื่อข้อมูลในตารางมีปริมาณมากขึ้น นอกจากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูลจะทำได้ยากแล้ว การนำเสนอข้อมูลแบบตารางจะดูไม่น่าสนใจ วิธีที่ดีกว่าคือการแสดงข้อมูลโดยใช้แผนภูมิ เพราะสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน
ในบทนี้เราจะได้รู้จักกับวิธีสร้างแผนภูมิชนิดต่างๆ โดยใช้รูปแบบแผนภูมิอัตโนมัติ (AutoFormat Chart) การปรับเปลี่ยนรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ และเทคนิคการปรับแต่งแผนภูมิ
*[[ส่วนประกอบของแผนภูมิ]]
*[[สร้างแผนภูมิด้วย Chart]]
*[[เคลื่อนย้าย เปลี่ยนขนาด และลบรูปแผนภูมิ]]
*[[การเปลี่ยนชนิดและรูปแบบแผนภูมิ]]
*[[การแก้ไขและปรับเปลี่ยนชุดข้อมูลที่ใช้สร้างแผนภูมิ]]
*[[การปรับแต่งรายละเอียดต่างๆ ของแผนภูมิ]]
*[[เทคนิคเกี่ยวกับแผนภูมิเพิ่มเติม]]
 
=== ตกแต่ง Calc ด้วยภาพ ===
การตกแต่งแผ่นงานด้วยรูปภาพ นอกจากจะช่วยเสริมเติมแต่งแผ่นงานให้ดูโดดเด่นขึ้นแล้ว ยังมีส่วนช่วยในการอธิบายข้อมูลให้เข้าใจง่ายขึ้นด้วย ในบทนี้เราจะได้รู้จักกับการใช้ภาพตั้งแต่การตกแต่ง ปรับเปลี่ยนขนาดและสีสันของภาพ จนถึงการวาดรูปด้วยตัวเราเอง
*[[การใช้ภาพประกอบข้อมูล]]
*[[ปรับแต่งภาพที่แสดงโดยใช้แถบเครื่องมือรูปภาพ]]
*[[สร้างรูปด้วยตัวเราเอง]]
 
=== การพิมพ์งาน ===
หลังจากที่เราได้แก้ไข และตกแต่งแผ่นงานจนเป็นที่พอใจแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่เราต้องเรียนรู้ก็คือ การพิมพ์แผ่นงานให้มีรูปแบบตามที่ต้องการใน Calc เราสามารถกำหนดรายละเอียดการพิมพ์ เช่น ขนาดกระดาษที่ใช้ ลักษณะการจัดวางข้อมูลบนหน้ากระดาษ ไปจนถึงข้อความที่พิมพ์ตรงหัวกระดาษ และท้ายกระดาษได้อย่างง่ายดาย โดยที่เราจะสั่งพิมพ์ข้อมูลทั้งหมดในแผ่นงาน หรือเลือกพิมพ์เฉพาะบางส่วนก็ได้
*[[ตรวจสอบงานก่อนพิมพ์]]
*[[การกำหนด Margin ให้หน้ากระดาษ]]
*[[การพิมพ์งาน]]
*[[กำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์]]
 
=== การบริหารข้อมูลที่มีปริมาณ ===
เมื่อข้อมูลในตารางมีปริมาณที่มากขึ้น การนำข้อมูลมาทำการคำนวณหรือวิเคราะห์จะทำได้ยากขึ้น เพราะเราไม่สามารถใช้สายตามองหาข้อมูลที่ต้องการในตารางได้อีกต่อไป เนื่องจากมีข้อมูลเต็มไปหมด เช่น ในตารางที่มีข้อมูลลูกค้า 100 คน การหารายละเอียดของลูกค้าชื่อ “สรัชวัน” จะใช้เวลามากถ้าเราใช้วิธีกวาดสายตาค้นหา วิธีที่ดีกว่าคือ การจัดลำดับข้อมูลในตารางให้เป็นระเบียบ และการใช้ระบบอัตโนมัติช่วยในการค้นหาข้อมูลที่ต้องการ
Calc มีความสามารถในการจัดการข้อมูลได้เป็นอย่างดี และในบทนี้เราจะได้รู้จักกับการเรียงลำดับข้อมูล การใช้ AutoFilter เพื่อคัดเลือกข้อมูลที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถนำข้อมูลในตารางมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบได้สะดวก และรวดเร็วยิ่งขึ้น
*[[รู้จักกับศัพท์ที่ใช้กันหน่อย]]
*[[เรียงลำดับข้อมูล]]
*[[กรองข้อมูลอัตโนมัติ เพื่อคัดเลือกข้อมูล]]
*[[จบการใช้ AutoFilter]]
 
== Impress สร้างงานนำเสนอ ==
=== รู้จักกับโปรแกรม Impress ===
สำหรับโปรแกรมที่น่าสนใจจากกลุ่มของโปรแกรม OpenOffice.org คือ Impress หรือ "โปรแกรมนำเสนอ" ซึ่งนอกจากจะอำนวยความสะดวกรวดเร็วในการสร้างงานนำเสนอแล้ว ยังเพิ่มความน่าสนใจให้กับงานนำเสนอได้อย่างน่าทึ่งด้วยการใช้รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง เป็นต้น
*[[โปรแกรม Impress|โปรแกรม Impress ทำอะไรได้บ้าง]]
*[[แนวทางเตรียมการนำเสนองานพรีเซนเตชั่น]]
*[[เข้าสู่โปรแกรม Impress]]
*[[การสร้างงานพรีเซนเตชั่นชิ้นใหม่]]
*[[การแสดงงานพรีเซนเตชั่น]]
*[[บันทึกงานพรีเซนเตชั่นที่สร้าง]]
*[[เรียกข้อมูลที่บันทึกกลับมาใช้งาน]]
*[[ออกจากโปรแกรม Impress]]
*[[มุมมองในโปรแกรม Impress]]
*[[แทรกสไลด์แผ่นใหม่]]
*[[เคลื่อนย้ายสไลด์ไปในตำแหน่งที่ต้องการ]]
*[[การลบสไลด์]]
*[[การแทรกสไลด์ด้วยการคัดลอกสไลด์]]
*[[การจัดเรียงข้อความในมุมมอง Outline]]
*[[กำหนดชื่อเรื่องของสไลด์]]
*[[การปรับเปลี่ยนลำดับสไลด์/หัวข้อ]]
*[[การลบสไลด์/หัวข้อ]]
*[[แสดงหรือซ่อนหัวข้อในสไลด์]]
*[[การใช้คำสั่ง Undo เพื่อยกเลิกข้อผิดพลาด]]
*[[การย่อ/ขยายมุมมอง]]
*[[เส้นบอกแนว]]
 
=== การทำงานกับข้อความ ===
การใช้ข้อความในการนำเสนอพรีเซนเตชั่นนั้นจัดเป็นเรื่องสำคัญ โดยนอกจากเราจะแก้ไขข้อความที่แสดงในสไลด์ได้อย่างสะดวกแล้ว เรายังสามารถนำตัวอักษรแบบต่างๆ มาเน้นข้อความได้อีกด้วย สำหรับในบทนี้เราจะกล่าวถึงการจัดการกับข้อความในสไลด์ โดยเริ่มตั้งแต่การใส่ข้อความ และการตกแต่งข้อความรูปแบบต่างๆ
*[[การใส่ข้อความลงในสไลด์]]
*[[การเลือกข้อความและการทำงานกับกล่องข้อความ]]
*[[การย้ายตำแหน่งกล่องข้อความ]]
*[[หมุนกล่องข้อความ]]
*[[การแก้ไขข้อความ]]
*[[กำหนดรูปแบบและขนาดตัวอักษรให้กับข้อความในสไลด์]]
*[[กำหนดข้อความเป็นตัวหนาตัวเอนและขีดเส้น]]
*[[จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางชิดซ้ายหรือชิดขวา]]
*[[ตกแต่งข้อความโดยการใช้สี]]
*[[ใส่ตัวเลขแสดงลำดับหัวข้อหรือสัญลักษณ์แสดงหัวข้อ(Bullet)]]
*[[แทรกอักษรศิลป์]]
 
=== การตกแต่งพื้นหลังของสไลด์ ===
การใส่สีสันลงในสไลด์นั้นมีความคล้ายกับงานศิลป์อยู่บ้าง เพราะสไลด์ที่สวยงามดุจดังภาพวาดนั้น ย่อมเป็นที่ดึงดูดความสนใจจากผู้ชมการบรรยายได้เป็นอย่างดี ดังนั้น เราจึงไม่ควรมองข้ามเรื่องนี้ และสำหรับโปรแกรม Impress นั้น การสร้างสไลด์สวยๆ นั้นทำได้ไม่ยาก เพราะมีคำสั่งและเครื่องมือมากมายที่ช่วยเรื่องนี้โดยเฉพาะ
*[[การเปลี่ยนพื้นหลังสไลด์]]
*[[การเปลี่ยนพื้นหลังเฉพาะพื้นที่วัตถุ]]
*[[เปลี่ยนพื้นหลังสไลด์ทั้งแผ่น]]
 
=== การตกแต่งภาพสไลด์ ===
สำหรับในบทนี้เราจะกล่าวถึงการนำภาพที่มีอยู่ในเครื่องมาใช้ และการนำภาพจากแหล่งอื่นมาจัดเก็บรวมกันเป็นคลังภาพสำหรับใช้ในการจัดทำสไลด์ของเรา เช่น สแกนเนอร์ หรือกล้องถ่ายภาพดิจิตอล เป็นต้น
*[[การนำเสนองานด้วยภาพ]]
*[[การแทรกภาพลงในสไลด์]]
*[[การปรับแต่งภาพ]]
*[[การปรับแต่งโหมดกราฟิก]]
*[[การตกแต่งสีภาพ]]
*[[การปรับความสว่างและความคมชัดของภาพ]]
*[[ปรับพื้นหลังของภาพให้โปร่งใส]]
*[[การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ]]
 
=== การใส่รูปวาดในสไลด์ ===
ในบทนี้เราจะกล่าวถึงการใช้ภาพตั้งแต่การตกแต่ง การเปลี่ยนขนาดและสีสันของภาพ จนถึงการวาดรูปด้วยตนเอง
*[[แถบเครื่องมือวาดรูป]]
*[[การวาดเส้นและลูกศร]]
*[[การวาดเส้นที่มีหัวลูกศร]]
*[[การวาดเส้นลูกศร]]
*[[การวาดสี่เหลี่ยมหรือวงกลม]]
*[[การวาดรูปร่างอัตโนมัติ]]
*[[การวาดเส้นเชื่อม]]
*[[การวาดรูปอิสระ Freeform]]
*[[การจัดการกับวัตถุ]]
*[[วิธีการเลือกวัตถุ]]
*[[การปรับขนาดวัตถุ]]
*[[การหมุนวัตถุ]]
*[[การจัดกลุ่มและการจัดเรียงวัตถุ]]
 
=== ตารางและกราฟ ===
ในบทนี้เราจะกล่าวถึงการนำเสนอข้อมูลลงในสไลด์ด้วยตาราง และกราฟ เพื่อทำให้งานพรีเซนเตชั่นเข้าใจได้ง่ายและน่าสนใจมากขึ้น
*[[กราฟกับการนำเสนองาน]]
*[[การสร้างตารางข้อมูล]]
*[[การตกแต่งตารางข้อมูล]]
*[[การเพิ่มและลบแถว]]
*[[การตกแต่งกราฟ]]
 
=== สร้างเทคนิคให้กับสไลด์ ===
นอกจากการสร้างงานพรีเซนเตชั่น และการตกแต่งสไลด์ให้ดูสวยงาม และน่าติดตามโดยใช้ภาพ ข้อความ และกราฟแล้ว เรายังต้องพิจารณารายละเอียดในการนำเสนองานพรีเซนเตชั่นอีกด้วย เช่น การเลือกรูปแบบ เพิ่มเอฟเฟ็กต์หรือเสียงให้กับงานที่นำเสนอ ก็จะทำให้งานพรีเซนเตชั่นนั้นดูน่าสนใจและชวนติดตามมากขึ้น
*[[การเพิ่มลูกเล่นในการนำเสนอในสไลด์]]
*[[เทคนิคการเปลี่ยนแผ่นสไลด์]]
 
=== การแสดงสไลด์ ===
หลังจากที่เราได้สร้างและตกแต่งสไลด์ และจัดองค์ประกอบต่างๆ ในงานพรีเซนเตชั่นพร้อมแล้ว ต่อไปก็ถึงเวลานำเสนองานพรีเซนเตชั่น ดังหัวข้อต่อไปนี้
*[[การสร้างสรุปภาพนิ่ง]]
*[[การสร้างบันทึกย่อ]]
*[[สร้างเอกสารประกอบการบรรยาย]]
*[[งานพรีเซนเตชั่นกับการพิมพ์]]
*[[การตั้งเวลาในการบรรยายสไลด์]]
*[[การนำเสนองาน]]
 
== Draw วาดรูปและแผนภูมิ ==
=== เริ่มต้นการใช้งาน OpenOffice.org Draw ===
โปรแกรมวาดภาพ OpenOffice.org Draw เป็นหนึ่งโปรแกรมในชุดของ OpenOffice.org โดยโปรแกรมวาดภาพนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวช่วยในการวาดภาพในลักษณะของลายเส้น และมีลักษณะการใช้งานดังนี้
*[[เข้าสู่โปรแกรม Draw]]
*[[เครื่องมือวาดเส้น]]
*[[เครื่องมือวาดสี่เหลี่ยมและรูปทรงอิสระ]]
*[[เครื่องมือวาดรูปทรงสามมิติ]]
*[[กำหนดคุณสมบัติวัตถุ]]
*[[ใช้เส้นไกด์ช่วยในการวาดภาพ]]
*[[ย่อ/ขยายภาพ]]
*[[แทรกไฟล์ภาพกราฟิก]]
*[[การสร้างข้อความ]]
*[[บันทึกชิ้นงาน]]
*[[ออกจากโปรแกรม]]
 
=== การจัดการรูปวาด การสร้างตัวเชื่อมต่อและกราฟ ===
*[[การเลือกวัตถุ]]
*[[การคัดลอกวัตถุ]]
*[[การดัดแปลงวัตถุ]]
*[[การรวมกลุ่มและแยกวัตถุ]]
*[[การจัดเรียงวัตถุ]]
*[[การจัดตำแหน่งวัตถุ]]
*[[การสร้างตัวเชื่อมต่อ]]
*[[การสร้างกราฟ]]
 
== Base สร้างฐานข้อมูล ==
=== ความเข้าใจพื้นฐานเรื่องฐานข้อมูล ===
ก่อนที่เราจะเริ่มต้นสร้างโปรแกรมฐานข้อมูลด้วย Base เราจะต้องวางแผนเกี่ยวกับการออกแบบฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ตรงกับจุดประสงค์ในการใช้งานมากที่สุด เนื่องจากการออกแบบที่ดีจะช่วยในหลายด้าน ทั้งการดูแลรักษาระบบฐานข้อมูล ทำให้ข้อมูลที่ได้มีความเป็นระบบระเบียบ สามารถรวบรวมข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกันได้สะดวก รวดเร็ว และทำการเปลี่ยนแปลงภายหลังได้ไม่ยุ่งยาก
*[[รู้จักกับฐานข้อมูล]]
*[[เข้าใจระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์]]
*[[ชนิดของความสัมพันธ์ (Relationships)]]
*[[ชนิดของคีย์ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์]]
*[[การออกแบบระบบฐานข้อมูล]]
*[[แนะนำโปรแกรม Base]]
 
=== การสร้างฐานข้อมูล ===
ในบทนี้ เราจะมาศึกษาการสร้างฐานข้อมูล และตารางที่เราได้ออกแบบมาแล้วในบทผ่านมาด้วย Base แล้วลองป้อนข้อมูลที่เราต้องการเก็บลงในตาราง โดยเราจะทำความเข้าใจตามหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้
*[[การสร้างตารางและฟิลด์]]
*[[การใส่ข้อมูลในตาราง]]
 
=== การนำเข้าตาราง และจัดการข้อมูล ===
ในบทนี้ เราจะกล่าวถึงการนำตารางจากฐานข้อมูลอื่น มาใส่ในฐานข้อมูล Base และส่วนความสามารถอื่นๆ ของมุมมอง Table Data เช่น การเรียง และการค้นหา ซึ่งจะช่วยให้เราทำงานกับข้อมูลจำนวนมากได้สะดวก และลดเวลาในการทำงานลงไปได้มาก
*[[การนำเข้าตารางจากฐานข้อมูลอื่น]]
*[[การเรียงข้อมูลในตาราง]]
*[[การค้นหาข้อมูลในตาราง]]
 
== Math เขียนสูตรคำนวณ ==
=== การใช้งาน OpenOffice.org Math ===
เอกสารในเชิงวิชาการ มักมีการพิมพ์ตัวเลขที่มีลักษณะพิเศษ หรือสมการคณิตศาสตร์ต่างๆ แทรกอยู่ด้วย เช่น เอกสารการวิจัย เอกสารโครงงานต่างๆ เป็นต้น
การแทรกตัวเลขในลักษณะเหล่านี้ หรือสูตรสมการทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ OpenOffice.org สามารถทำได้ไม่ยากนัก โดยจะมีโปรแกรม Math เพื่อแทรกตัวเลขแบบพิเศษต่างๆ หรือสมการทางคณิตศาสตร์ลงในเอกสารได้ตามต้องการ
*[[เปิดโปรแกรม Math]]
*[[รู้จักเครื่องมือ Selection]]
*[[เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ]]
*[[การนำสูตรไปใช้ในงานเอกสาร]]
 
[[หมวดหมู่:คู่มือคอมพิวเตอร์]]