ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทย/ไวยากรณ์/ชนิดของคำ/คำอุทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัดที่ 1:
'''คำอุทาน''' คือ คำทีไม่มีความหมายในตัวเอง เป็นคำที่แสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด หรือพูดเพื่อเสริมคำอื่นให้มีความหมายหนักแน่นขึ้น
==ชนิดของคำอุทาน==
 
1. '''คำอุทานบอกอาการ''' เป็นคำบอกอารมณ์หรือบอกความรู้สึกโดยตรง ใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับข้างหลัง เช่น
*'''คำอุทานบอกอาการ''' ทำหน้าที่เป็นคำบอกอารมณ์หรือบอกความรู้สึกของผู้พูดโดยตรง หรือผู้เขียนใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับข้างหลัง เช่น
**คำอุทาน ทำหน้าที่บอกความรู้สึกตกใจของผู้พูด เช่นหรือผู้เขียน ว้า่ย! อุ๊ย!เช่น
***บอกความรู้สึกเจ็บตกใจ เช่น โอ๊ยว้า่ย! อุ๊ย!
***บอกความรู้สึกดีใจเจ็บ เช่น เย้! ไชโย! ฮูเรโอ๊ย!
***บอกความรู้สึกดีใจ เช่น เย้! ไชโย! ฮูเร!
2. '''คำอุทานเสริมบท''' เป็นคำที่ไม่ได้บอกอารมณ์ และผู้พูดก็ไม่ประสงค์เนื้อความของคำที่เสริมเข้าไป ไม่ใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ ( ! ) กำกับ
เช่น ไปวัด'''''ไปวา''''' '''''โรงเล่า'''''โรงเรียน '''''ลืมหู'''''ลืมตา
:นอกจากนี้คำอุทานยังใช้เป็นคำสร้อยในคำประพันธ์ประเภทโคลงได้ด้วย เช่น แฮ เฮย นา แลนา เป็นต้น ดังตัวอย่าง