ผู้ใช้:Pitpisit/กระบะทราย/รปศ. เบื้องต้น/บทที่ 2

วิวัฒนาการ

แก้ไข
  1. Robert T. Gembelski แบ่งเป็น 3 ช่วง บริหารแยกออกจากการเมือง / จิตวิทยา / มนุษยนิยมและระบบ เน้นการสร้างองค์ความรู้ เน้นนำความรู้ไปใช้ภายนอก // 3 ทฤษฎี คือ นโยบายสาธารณะ / รปศ. ความหมายใหม่ / บริหารตามแบบประชาธิปไตย
  2. Nicholas Henry มอง รปศ. เป็น รปศ. แบ่ง 5 พาราไดม์ คือ
    1. การบริหารแยกออกจาการเมือง (1900-1926)
    2. หลักการบริหาร (1927-1937)
    3. รปศ. เป็นส่วนหนึ่งของรัฐศาสตร์ (1950- 1970)
    4. รปศ. เป็นศาสตร์การบริหาร (1956-1970)
    5. รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน)
  3. อุทัย เลาหวิเชียร ผู้ก่อตั้งสถาบันนิด้า มองวิวัฒนาการเป็นสามพาราไดม์

ยุคทฤษฎีดั้งเดิม (1887-1950)

แก้ไข

เป็นยุคที่แสวงหาวิธีการบริหารที่ดีและมีเหตุผล มีแนวคิด การบริหารที่ดีต้องใช้รูปแบบองค์การระบบปิด และองค์การแบบทางการ

การบริหารแยกออกจากการเมือง

แก้ไข

Woodrow Wilson

แก้ไข

เขียนหนังสือเรื่อง The Study of Administration ตั้งสมมติฐาน 5 ข้อ

  1. ประเทศที่ก้าวหน้ามีการปกครองที่ดี รัฐบาลจะเข้มแข็ง
  2. รปศ. ศึกษาเรื่องนำกฎหมายมหาชนไปปฏิบัติ
  3. สร้างหลักการบริหาร ส่งเสริมการบริหารภาครัฐ ให้มีคุณภาพดีขึ้น
  4. การเมืองกำหนดนโยบาย ออกกฎหมาย บริหารนำเอานโยบาย กฎหมายไปปฏิบัติ
  5. เสนอหลักการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (สมมติฐาน 8)

Frank J. Goodnow

แก้ไข

เขียน Politics and Administration แนวคิด 2 ข้อ

  1. การปกครองที่ดีมี 2 หน้าที่ คือ การปกครองมีหน้าที่กำหนดนโยบาย นิติบัญญัติและตุลาการ ฝ่ยบริหารปฏิบัติตามรัฐ
  2. รปศ. คือการศึกษาระบบราชการที่นำนโยบายที่กำหนดไปปฏิบัติ

Leonard D. White

แก้ไข

เขียน Introduction of The Study of Public Administration ว่า ากรเมืองไม่ควรแทรกแซงการบริหาร การศึกษาเรื่องการบริหารโดยหลักวิทยาศาสตร์ และเป้าหมายสำคัญของการบริหาร คือ การประหยัดและการมีประสิทธิภาพ ปรับปรุงระบบบริหารบุคคลให้อยู่บนพื้นฐาระบบคุณธณรม ให้ความสำคัญ ฝ่ายบริหารใช้งบประมาณในการวางแผนและควบคุม

สรุป

แก้ไข

แนวคิดการแยกการบริหารออกจากการเมือง เป็นส่วนผลักดันให้มีการปฏิรูประบบบริหาร อาศัยคุณธรรม เพื่อป้องกันการเล่นพรคเล่นพวก

ระบบบริหารที่ดี คือ การที่นักบริหารเข้มแข็ง อาศัยหลกเหตุผล และ ประสิทธฺภาพเป็นโครงสร้างที่เอื้ออำนาวยต่อการบริหารที่ดีมีประสิทธิภาพ

ระบบราชการ ของ Max Weber

แก้ไข

เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน องค์การ สังคม ระบบแบบนี้นำไปสู่ทฤษฎีองค์การ และวิชาพฤติกรรมศาสตร์

ทฤษฎีอำนาจ

แก้ไข
  1. จารีต เช่น กษัตริย์
  2. บารมี เช่น ทักษิณ ชินวัตร
  3. กฎหมาย เช่น การเลือกตั้ง

องค์ประกอบขององค์การ 7 ข้อ

แก้ไข
  1. ลำดับชั้น จัดตำแหน่งต่างๆ เป็นลำดับชั้น
  2. อำนาจสมาชิกมาจากตำแหน่ง
  3. ข้าราชการทุกคนต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้เรื่องระเบียบ วิธีการปฏิบัติงานตามระเบียบ
  4. ข้าราชการต้องวางตัวเป็นกลาง ปฏิบัติราชการ ไม่เห็นประโยชน์ของตน
  5. ข้าราชการเป็นอาชีพมั่นคง เพระประชาชนต้องเป็นที่พึ่งบริการ
  6. เสนออาชีพที่มั่นคง ให้ผลตอบแทนในรูปเงินเดือน สวัสดิการ และโอกาสในการก้าวหน้าจากตำแหน่ง
  7. ระบบราชการมีลักษณะเสริมสร้างตนเอง เพราะเป็นระบบปิดบังความรู้ไม่ให้คนภายนอกองค์กรทราบ กลไกบริหารใดก็ตามที่มีลักษณะตรงตามระเบียบราชการในอุดมคติของ weber ทุกประการ เรียกว่า monocratic bureaucracy

การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ สมัยปฏิวัติอุสาหกรรมของ Frederick W. Taylor

แก้ไข

ศึกษาเวลาการทำงานชิ้นๆ หนึ่ง / ศึกษาการเคลื่อนไหว และแยกงานออกเป็นขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้ทำงานเต็มที่ เปลี่ยนจากความไม่มีประสิทธิภาพ ไร้กฎเกณฑ์ มาเป็นมีกฎเกณฑ์และมีประสิทธิภาพ

หลักการจัดการสำหรับผู้บริหาร

แก้ไข
  1. พัฒนาและสั่งสมความรู้ที่จำเป็นต่อการทำงานเพื่อค้นหาวิธีการทำงาน
  2. คัดเลือกบุคคลากร ฝึกสอนงานแก่พนักงานอย่างมีระบบ
  3. ประสานงาน ดูแลเอาใจใส่พนักงานให้ทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม
  4. จัดสรรค่าตอบแทน ผลประโยชน์การทำงานแก่พนักงานอย่างเป็นธรรม

หลักการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ 4

แก้ไข
  1. รู้จริงเรื่องงาน
  2. กลมเกลียวในหมู่พนักงาน และผู้บริหาร
  3. ความร่วมมือปฏิบัติงานของทุกคน
  4. ความมุ่งหมายที่จะสร้างผลผลิตสูงสุดจากการทำงานร่วมกัน

ข้อเสีย

แก้ไข

ไม่ประกันว่าคนงานและฝ่ายจัดการจะเจริญก้าวหนน้าจากตำแหน่งตลอด อาจใช้เวลาเปลี่ยนการทำงานแบบเดิมสู่แบบใหม่

หลักการบริหาร

แก้ไข

Mary Parker Follet

แก้ไข

หลักการบริหารที่ดี 4

  1. ขัดแย้งเป็นเรื่องที่ดี หลักจัดการ 3
    1. ยึดครอง
    2. ประนีประนอม
    3. รวมตัว
  2. มนุษย์ไม่ชอบคำสั่ง ต้องใช้ศิลปะในการออกคำสั่ง
  3. องค์การเป็นเรื่องทุกฝ่ายทั้งคนงาน บริหารร่วมรับผิดชอบ วางแผนและจัดการนโยบายต่างๆ
  4. การบริหารที่ดีต้องใช้การประสาน จำเป็นต้องดำเนินตามเกณฑ์ คือ ประสานและควบคุมต้องเกิดจากหัวหน้าแผนกแทนการควบคุมจากข้างบนลงข้างล่าง

Henry Fayol นักบริหารระดับสูงด้านอุสาหกรรม

แก้ไข

การบริหารที่ดี ประกอบด้วย การคาดคะเน / วางแผน / จัดองค์การ / สั่งงาน / ประสานงาน / ควบคุม

หลักการบริหาร 14 ประการ

  1. แบ่งงานกันทำ
  2. อำนาจตามตำแหน่ง
  3. วินัย
  4. เอกภาพของสายการบังคับบัญชา
  5. เอกภาพของคำสั่ง
  6. หลักผลประโยชน์ส่วนรวม
  7. การให้รางวัลตอบแทน
  8. การรวมอำนาจ
  9. ลำดับชั้นการบังคับบัญชา
  10. คำสั่ง
  11. ความเสมอภาค
  12. ความมั่นคงของคนงาน
  13. ความคิดริเริ่ม
  14. ความสัมพันธ์อันดี

เรื่องนี้เป็นสิ่งที่สำคัญ จึงต้องเชื่อมโยงการเรียน ฝึกอบรมให้เข้ากับสภาพการทำงานจริงด้วย

Jame D. Moonery and Alan C. Reiley นักบริหารชั้นอุสาหกรรม แต่งเรื่อง Principles of Organization

แก้ไข

4 หลัก

  1. ประสานงาน มอบอำนาจแก่เจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ
  2. ลำดับชั้น ประสานงานเจ้าหน้าที่ทุกระดับในองค์การ
  3. แบ่งงาน กำหนดอำนาจโดยชอบธรรม
  4. จัดหน่วยงาน กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยปฏิบัติงาน และ กลุ่มที่ทำงานกับหน่วยให้คำปรึกษา

Luther H. Gulick and Lyndall Uwick สร้างกลไกควบคุมภายใน

แก้ไข
  1. จัดโครงสร้างอำนาจภายในองค์การ (หลักขอบข่ายการควบคุม / จัดหมวดหมู่ให้กรมกองกลมกลืน)
  2. กำหนดบทบาทให้ชัดเจน POSDCORB (Planning วางแผน / Organizing จัดองค์กร / Stuffing บรรจุ / Directing สั่งการ / Coordinating ประสาน / Reporting รายงาน/ Budgeting งบประมาณ)
  3. จัดองค์การใยแบบต่างๆ 4 คือ ตามวัตถุประสงค์ / กระบวนการ / ลูกค้า / สถานที่ตั้ง

เป็นการสร้างขวัญ และ ผูกมัดทางใจในการใช้หลักการด้านการบริหารงานบุคคลมาให้กำลังทำงาน สร้างความจงรักภักดีให้กับองค์การ และสร้างแรงจูงใจอื่นๆ

ยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 1 (1950-1960)

แก้ไข

ทฤษฎีในยุคดังเดิมเป็นแนวคิดเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร

การบริหารคือการเมือง

แก้ไข

Fritz Monsterin Marx

แก้ไข

ฝ่ายการเมืองเป็นผู้กำหนดนโยบาย แต่เป็นแบบกว้างๆ ฝ่ายบริาหรต้องกำหนดรายละเอียดของนโยบาย

Paul Henson Appleby

แก้ไข

รปศ. ควรเนินการศึกษาด้านการกำหนดนโยบายโดยกลุ่มพลังทางการเมือง

Nowton E. Long

แก้ไข

ดำเนินการใช้อำนาจในองค์การ (นักบริหารจะต้องทำงานได้จำเป็นต้องอาศัยอำนาจที่เป็นทางการ คือ อำนาจทางกฎหมาย / ไม่เป็นทางการ คือ อาศัยอำนาจทางการเมือง ผลประโยชน์ต่างๆ ดังนั้นจึงมองว่า การบริหารแยกจากการเมืองไม่ได้)

John M. Gaus นัก รปศ. อาวุโส

แก้ไข

ทฤษฎี รปศ. คือ ทฤษฎีทางการเมือง

แก้ไข

ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ

แก้ไข

Robert Michels

แก้ไข

ปรากฏการณ์เบี่ยงเบนเป้าหมายองค์การ เน้นให้ความสำคัญต่อการสร้างกลไกองค์การที่จะรักษาอำนาจ

Rpbert Merton สรุปความล้มเหลวดังต่อไปนี้

แก้ไข
  1. ลักษณะองค์การที่เป็นทางการ จัดโครงสร้างเพื่อเป้าหมายรวมขององค์การ รวมตัวกันของกิจกรรมถูกจัดเป็นลำดับชั้น มีหน้าที่ตามตำแหน่ง
  2. โครงสร้างตามระบบราชการ มองว่าระบบราชการทำให้ข้าราชการรู้สึกว่าตนเอง ถูกครอบงำจากระบบราชการ ลักษณะหน่วยงานลับ
  3. ข้อบกพร่องของระบบราชการ
    1. ไม่มีความยืดหยุ่น ระบบล้าสมัย ไม่ปรับตัวตามสถานการณ์
    2. ยึดกฎเกณฑ์มากเกินไป

ดังนั้นระบบราชการที่ควบคุมการปฏิบัติงาน ยึดระบบเคร่งครัด ทำให้ข้าราชการขาดความยืดหยุ่น ไม่กล้าตัดสินใจ

Michel Crozier อธิบายความเสื่อมของระบบราชการ

แก้ไข

มาจากระบบวงจรที่ชั่วร้าย เมื่อมีปัญหาภายในองค์การ ฝ่ายจัดการจะหาทางออกด้วยการสร้างกฎระเบียบขึ้นมาใหม้่

ระบบมนุษยสัมพันธ์

แก้ไข

โต้ Talyor ว่า เป็นแนวคิดที่มองคนเหมือนไม่มีชีวิต คนเหมือนเครื่องจักรหรือหุ่นยนต์ มาโยจึงเสนอแนวคิดการศึกษาความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการภายในกลุ่ม ได้แก่ การวิเคราะห์ภายในกลุ่ม ศึกษาทดลองเรื่อง Hawthorne studies ศึกษาปัจจัยทางการยภาพทางหลักวิทยาศาสตร์

Abraham H. Maslow เสนอทฤษฎีลำดับชั้นของความต้องการ (hierarchy of need)

แก้ไข
  1. ต้องการทางกายภาพ ด้านความปลอดภัย ผูกพันในสังคมที่จะมีฐานะเด่น ประจักดษ์ตน "ควรจูงใจคนงานไหนให้ตั้งใจทำงาน"

Frederick Hurzberg เสนอแนวคิดทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา

แก้ไข

สุขวิทยา เช่น นโยบายบริหารองค์การ ฝึกอบรม นิเทศงาน

จูงใจ เช่น การยอมรับจากคนอื่น การมีโอกาสก้าวหน้าในตำแหน่ง

Douglas Mc-gregor เสนอทฤษฎี XY

แก้ไข

X แบบเดิม เช่น มนุษย์ขี้เกียจ ไม่อยากมีส่วนร่วมในการทำงาน

Y มนุษยสัมพันธ์ เช่น มนุษย์ขยัน อยากมีส่วนร่วม โดยจะต้องจัดปัจจัยในหลักการบริหารงาน / สนับสนุนให้คนแสดงออก / จัดความต้องการของคนงาน

Chris Aroyris

แก้ไข

มนุษย์สามารถพัฒนาตนเองไปตามขั้นตอนกระบวนการเป็นผู้ใหญ่ได้

ศาสตร์การบริหาร

แก้ไข

Zester I. Bernard

แก้ไข

องค์การเกิดจากการร่วมมือของคนเพื่อทำงานให้บรรลุตามเป้าหมาย หน้าที่ นักบริหาร คือ

  1. ดูแลระบบติดต่อภายในองค์การให้สอดคล้อง
  2. รักษาความร่วมมือสมาชิกในองค์การ
  3. รับผิดชอบ และให้อำนาจแก่สมาชิกองค์การ
  4. ใช้ศิลปะบริหารให้บรรลุประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
  5. ทำงานด้วยความรับผิดชอบด้วยการยึดหลักศีลธรรม

Herbert A. Simon

แก้ไข

ศาสตร์การบริหาร โจมตีหลักการบรีหารว่า มีความขัดแย้ง เช่น span of control ขัดกับ hierarchy / specialization ขัดกับ one master โดยเริ่มต้นแนวคิดเรื่องการตัดสินใจ เป็นหัวใจของวิชา รปศ. เชนเดียวกับ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง

การตัดสินสินใจของ ไซมอน กล่าวว่า การตัดสินใจที่ดีต้องตัดสินใจแบบมีเหตุผล ผู้ตัดสินใจต้องมีความรู้ เช่น ให้ข้อมูลข่าวสาร สร้างกฎเกณฑ์การทำงาน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง แบ่งตำแหน่งให้ชัดเจน ใช้อำนาจโดยชอบธรรม แม้ทฤษฎีจะหักล้างทฤษฎียุคดั้งเดิม แต่ก็ไม่สมารถยอมรับมากนักในหมู่นักวิชาการ

ยุคกำเนิด รปศ. สมัยใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ครั้งที่ 2 (1960-1970)

แก้ไข

นำทฤษฎีระบบ มาใช้ใน รปศ.

แก้ไข

Herbert Simon and James Morch

แก้ไข

กล่าวว่า ระบบการตัดสินใจองค์กรว่า องค์การเป็นที่รวมของมนุษย์ที่ตัดสินใจอย่างมีเหนุผล กระบวนการตัดสินใจในกระบวนการ คือ กระบวนการระบบ ระบบที่รวมระบบย่อนผลิตปัจจัยนำออกเพื่อป้อนไปสู่สภาพแวดล้อม ตัดสินใจของคนในองค์การ พิจารณาระบบการติดต่อเอกสาร ข้อมูลข่าวสารในระบบองค์การ รับส่งข้อมูลแบบทางการ และ ไม่เป็นทางการ

Daniel Katz and Robert Kahn

แก้ไข

มององค์การในลักษณะเปิด ที่มีหน้าที่นำพลังงาน เข้าและออก ระหว่างองค์การ และ สภาพแวดล้อม มีระบบย่อม 5 ระบบ คือ ระบบผลิต สนัยสนุน ดูแลรักษา ปรับตัว และจัดการ

James F. Thompos

แก้ไข

มองว่า องค์การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่ไม่แน่นอน มีองค์ประกอบ 3 ระดับ คือ เทคนิค จัดการ และ สถาบัน

การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ

แก้ไข

ก่อตั้ง Comparative Administration Group หรือ CAG หรือ กลุ่มศึกษาการบริหารงานเปรียบเทียบ เพื่อวิจัยแนวทางการปรับปรุงการบริหารงานของประเทศกำลังพัฒนา มี 5 แนวทางคือ

  1. วิเคราะห์ระบบราชการภายใต้การปกครองของฝ่ายการเมือง (Ferrol Heddy) กำหนดว่าระบบราชการแต่ละประเทศมีลักษณะอย่างไร
  2. วิเคราะห์โครงสร้าง หน้าที่มาใช้ในการศึษาเชิงเปรียบเทียบ มี 3 แบบ คือ
    1. โครงสร้างระบบราชการมีอำนาจ ทำเฉพาะเรื่อง
    2. โครงสร้างน้อย หลายหน้าที่
    3. โครงสร้างมาก หลายหน้าที่
  1. Weberian Mofel นำระบบราชการตามอุดมคติมาเปรียบเทียบว่า อันไหนคล้ายของ weber เท่ากับระบบราชการนั้นมีคุณภาพ
  2. Almond Power Model ศึกษาโครงสร้าง หน้าที่ระบบและข้าราชการ
  3. Development Administration ศึกษาปัญหาอุปสรรคการทำงานตามแผนพัฒนา หาวิธีบริหารแผนให้ได้ผลมากที่สุด

รปศ. ความหมายใหม่ของ Dwhite Walto

แก้ไข
  1. รปศ. ศึกษาปัญหา และเรื่องราวของโลกความเป็นจริง
  2. รปศ. เน้นค่านิยม และความถูกต้อง
  3. รปศ. สนับสนุนความยุติธรรมในสังคม สนใจการบริการภาคประชาชน
  4. รปศ. สนับสนุนองค์การให้มีการเปลี่ยนแปลง ป้องกันการผูกอำนาจโดยผลประโยชน์กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

เทคนิคการบริหารงาน

แก้ไข
  1. บริหารและควบคุมทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ PPBS ___ planning programming budgeting system
  2. เทคนิคการควบคุมการปฏิบัติงาน PERT&CPM ___ program evaluation review technique
  3. วางแผนอย่างมีประสิทธิภาพ MBO ___ Management by objective

ยุคทฤษฎี รปศ. คือ รปศ. (1970-ปัจจุบัน)

แก้ไข

แนวศึกษานโยบายสาธารณะ

แก้ไข

Thomas R. Dye

แก้ไข

รูปแบบการกำหนดนโยบาย มี 7 แบบ คือ

  1. รูปแบบผู้นำ
  2. กลุ่ม
  3. สถาบัน
  4. ระบบ
  5. กระบวนการ
  6. มีเหตุผล
  7. ค่อยเป็นค่อยไป

Donald S. Van Meter & Carl E. Van Horn

แก้ไข

นำนโยบายไปปฏิบัติ ต้องประกอบองค์สำคัญ คือ

  1. ตัวนโยบายที่ต้องมีทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ
  2. มาตราฐานชัดเจน
  3. ติดต่อที่ดีระหว่างผู้กำหนด และ ผู้ปฏิบัติ
  4. ต้องมีบทบาทบังคับกับผู้ปฏิบัติโครงสร้างของหน่วยงาน
  5. สภาพแวดล้อมทางการเมืองของหน่วยงานปฏิบัติ
  6. สภาพสังคม เศรษฐกิจ
  7. การยอมรับนโยบายของผู้ปฏิบัติ
  8. การปฏิบัติว่ามากน้อยเพียงใด

ทางเลือกสาธารณะขงอ Vincent Ostrom

แก้ไข

เชื่อว่าจะแก้ปัญหา รปศ. ต้องใช้เศรษฐกิจการเมืองคู่กับ ปรัชญาการบริหารแบบประชาธิปไตย ซึ่งมี 8 ข้อ คือ

  1. ทุกคนไม่ว่าคนปกครองหรือทั่วไปมีนิสัย เห็นแก่ตัว ชอบเอาเปรียบ
  2. เมื่อใครเห็นช่องช่องทาง ประโยชน์จากการใช้อำนาจทางการ เขาก็จะรีบใช้โดยไม่คำนึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นกับคนอื่น
  3. รปศ. และ ประชาธิปไตย จะกหนดขอบเขตอำนาจแก่กลุ่มต่างๆ ให้ตรวจสอบกันเอง
  4. สินค้า และ บริการสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ
  5. การจัดสินค้าและบริหารสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการเมือง และ กลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ
  6. การจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นซึ่งอยู่้ในศูนย์อำนาจเดียวกัน จะไม่ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชนได้
  7. การจัดองค์การราชการแบบลำดับชั้นซึ่งอยู่้ในศูนย์อำนาจเดียวกัน ทำให้ภาครัฐสิ้นเปลืองทรัพยากร และล่าช้าในการทำงาน
  8. กานจัดองค์การกระจายอำนาจให้ศูนย์การตัดสินใจ มีหลายศูนย์

แต่อย่างไรก็ตาม ก็ไม่ได้ยอมรับ เพราะเป็นกรอบใช้ทำความเข้าใจปัญหาการบริหารเป็นเทคนิคแก้ปัญหาโดยตรง

เศรษฐกิจการเมือง แบบ Gary Wamsley and Mayer Zald

แก้ไข

เศรษฐกิจ การเมืองเกี่ยวข้องกันมาก ใกล้ชิดและแทรกแซงซึ่งกันและกัน มี 4 ส่วน คือ

  1. การเมืองภายนอกองค์การ
  2. การเมืองภายในองค์การ
  3. เศรษฐกิจภายนอกองค์การ
  4. เศรษฐกิจภายในองค์การ

แต่ได้รับความนิยมน้อยมาก น้อยกว่าแบบทางเลือกสาธารณะ เพราะเป็นการมองที่แคบเกินไป

แนวคิดศึกษาวงจรชีวิตองค์การของ Antony Down

แก้ไข

ศึกษาวงจรชีวิตขององค์การว่า มีวิวัฒนาการ ขันตอนอย่างไร ปัจจัยที่ทำให้องค์การเสื่อมหรือตาย การเกิดองค์การ มี 4 แบบ

  1. เกิดจากผู้นำเข้มแข็งเป็นแกนนำ
  2. ความต้องการจองคนในองค์การ เพื่อให้ได้องค์การใหม่ที่ทำหน้าที่เฉพาะ
  3. แยกตัวจากองค์การเดิม
  4. กลุ่มผลประโยชน์ผลักดันนโญบายบางอย่างขึ้นมา

ข้อสังเกตความเจริญ ไม่เจริญขององค์การ เช่น เปลี่ยนแปลงผู้นำ การเร่งเจริญของพวกหัวก้าวหน้า การเจริญน้อยลงจากการลดบทบาทองค์การ (การเจริญที่ไม่เพิ่มคน เพิ่มแต่คุณภาพ) และ Antony ก็ยังอธิบายถึงการขยายตัวที่ไม่จำเป็นของระบบราชการ ผลของอายุองค์การ ปรากฎการณ์เกี่ยวกับคนในองค์การอีกด้วย

การจัดการแบบประหยัดจากสภาวการณ์ขาดแคลนทรัพยากร ของ Charles Levine (ชาร์ล ดาวิน)

แก้ไข
  1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับสาเหตุการตายยหรือเสื่อมขององค์การ
  2. ปัญหา และอุปสรรคต่อการตัดสินใจเพื่อจัดการแบบประหยัด
  3. กลยุทธ์ในการตัดสินใจเพื่อหาวิธีการจัดการแบบประหยัดต่างๆ เช่น กลยุทธ์แบบต่อต้าน แบบ คล้อยตาม แบบการให้หลักอาวุโสสเพื่อตัดทอนคนงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย

การศึษาเพื่อแสวงหาองค์ความรู้ทาง รปศ. แนวใหม่ เช่น การออกแบบองค์การสมัยใหม่ การวิจัยศึกษาเรื่ององค์การ และอื่นๆ

เทคนิคการบริหารในยุคนี้ ได้แก่ ใช้งบประมาณฐานศูนย์ ควบคุมคุณภาพแบบมีส่วนร่วม พัฒนาองค์การ หรือโอดี เทนิค Sensitivity Training เทคนิค MIS เป็นต้น

สรุป : วิวัฒนาการ รปศ. มี 4 ยุค

แก้ไข

ยุคดั้งเดิม (1887-1950) มี

แก้ไข
  1. การบริหารแยกออกจากการเมือง
  2. ระบบราชการ
  3. วิทยาศาสตร์การจัดการ
  4. หลักการบริหาร

เป็นยุคที่นัก รปศ. แสวงหาวิธีการบริหารที่ดี มีเหตุผล เพื่อเน้นแนวทางการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพ ใช้แนวคิดการบริหารที่ดีในรูปแบบขององค์การแบบปิดและเป็นทางการ

ยุคท้าทาย วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 1 (1950-1960)

แก้ไข

โต้แย้งทฤษฎีดั้งเดิม ว่า เป็นเพียงภาษิต (proverb) มองคนเป็นเครื่องจักร และใช้ไม่ได้กับองค์การทั่วไป ยุคนี้มีอิทธิพลจากจิตวิทยา สังคมวิทยา เสนอแนวคิด 4 ประการ คือ

  1. การบริหารคือการเมือง
  2. ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ
  3. มนุษยสัมพันธ์
  4. ศาสตร์การบริหาร

ยุคกำเนิด รปศ. แบบใหม่ วิกฤตเอกลักษณ์ ครั้งที่ 2 (1960-1970)

แก้ไข

เป็นช่วงการปฏิวัติพฤติกรรมศาสตร์และเกิดการรวมตัวของนักวิชาการรุ่นใหม่ เพื่อแสวงหาเอกลักษณ์ ประกอบด้วย

  1. แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ (ทฤษฎีระบบ และ รปศ. เปรียบเทียบ)
  2. การบริหารการพัฒนา
  3. แนวคิด รปศ. ในความหมายใหม่

ยุคทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ. สมัยใหม่ (1970-ปัจจุบัน)

แก้ไข

เป็นการศึกษาหลายแนวคิด นำมาใช้บริหารจริง แนวคิดที่สำคัญคือ

  1. นโยบายสาธารณะ
  2. ทางเลือกสาธารณะ
  3. ทางเลือกสาธารณะเศรษฐกิจการเมือง
  4. การจัดการแบบประหยัดและวงจรชีวิตขององค์การ